Putty + Xming = Xwindows

สำหรับผู้ใช้งานวินโดวส์ อยากใช้บางโปรแกรมของ Xwindows แต่ไม่อยากเดินไป Log In หน้า Console ต้องมี putty และ xming โหลดที่ ftp://ftp.psu.ac.th/pub/putty สำหรับ 32-bit https://blog.splunk.net/wp/64bit-putty/ สำหรับ 64-bit ftp://ftp.psu.ac.th/pub/xming/ อันนี้ไม่มีแยก โหลดโปรแกรมทั้งสองมาติดตั้งในเครื่องให้เรียบร้อย (next tech) สำหรับ putty สามารถโหลด putty.exe มาไฟล์เดียวก็ได้ เปิด putty และ xming สำหรับ xming เปิดแล้วโปรแกรมจะไปอยู่ที่ Task Bar ที่ Putty ในหัวข้อ Connection -> SSH -> X11 เลือกหัวข้อ Enable X11 forwarding กลับมาหน้า Session ในช่อง Saved Sessions สร้างชื่อใหม่เก็บไว้ใช้เวลาต้องการ ทดสอบใช้งาน ให้เลือกไปที่ X11 Forwarding ที่สร้างไว้ แล้วกด Load แล้วใส่ชื่อ Host Name ที่ต้องการ เมื่อ Log In เรียบร้อยในครั้งแรก จะมีข้อความว่า /usr/bin/xauth: creating new authority file …. ลองเรียกใช้งานโปรแกรมที่ต้องใช้ Xwindows  เช่น gedit จบ … ขอให้สนุกครับ

Read More »

ติดตั้ง LibreOffice 4.1 บน Ubuntu และ Linux Mint

Add repository โดย repository นี้ใช้ได้สำหรับ Ubuntu รุ่น Precise, Quantal, Raring และ Linux Mint ในรุ่นที่เทียบเคียงกัน เช่น ปัจจุบัน Linux Mint 15 ซึ่งเทียบเคียงได้กับ Ubuntu Raring เป็นต้น ด้วยคำสั่ง sudo add-apt-repository ppa:libreoffice/ppa เนื่องจากในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มีไซต์ http://mirrors.psu.ac.th ซึ่งได้ทำการ mirror ไซต์ต่างๆ ที่จำเป็นไว้แล้วส่วนหนึ่ง รวมถึง repository ของ LibreOffice ด้วย ดังนั้น สามารถใช้งานได้ โดยการแก้แฟ้ม /etc/apt/sources.list.d/libreoffice-ppa-raring.list จากเดิม มีอะไรอยู่ให้แก้เป็นดังนี้ โดยหากเป็น Ubuntu รุ่นอื่นๆ ก็ให้เปลี่ยนคำว่า raring เป็นรุ่นที่ใช้งาน สำหรับ Linux Mint ก็ยังคงใช้รุ่นของ Ubuntu ที่เทียบเคียงกันมาเช่น Linux Mint 15 ก็ให้ใช้ของ raring deb http://mirrors.psu.ac.th/ppa/libreoffice/ raring main สั่ง update ฐานข้อมูล software ด้วยคำสั่ง sudo apt-get update สั่ง upgrade software ซึ่ง LibreOffice จะถูก upgrade ไปในคราวเดียวกันโดยอัตโนมัติด้วยคำสั่ง sudo apt-get -y dist-upgrade จบ.. ขอให้สนุกครับ ที่มา     http://www.ubuntuupdates.org/ppa/libreoffice

Read More »

การติดตั้งเครื่องบันทึกภาพกล้องวงจรปิด

การติดตั้งเครื่องบันทึกภาพกล้องวงจรปิด เตรียมอุปกรณ์ Hardware เตรียมชุดข้อมูล Software+config Config ระบบอินเทอร์เน็ต เตรียมอุปกรณ์ Hardware มีอะไรบ้าง ? (สำหรับการติดตั้งกล้องวงจรปิด 4 ช่องสัญญาณครับ) 1. สาย RG สีขาวยี่ห้อ Link หรือ Commscope ยาว 100 เมตร 2. หัวแจ๊คสัญญาณ RG 6 (BNC Type) จำนวน 4 ตัว 3. รางเก็บสายไฟฟ้า PVC สีขาว 5*5 cm ยาว 4 m. 4.สายไฟฟ้า VCT 2*0.5  SQ.mm หรือ VCT 2*1.5 SQ.mm ความยาว 20 เมตร 5.ปลั๊กตัวเมีย 2 ตัว 6. กล่องกันน้ำขนาด 6*6*8 จำนวน 2 ใบ 7. เกลียวปล่อยขนาด #7*1 หัว JP  30 ตัว 8 พุกผีเสื้อจำนวน 30 ตัว 9.เครื่องบันทึกภาพ 4 ช่อง INNEKT ZLD104A H.264 Full D1 อินเตอร์เฟช GUI OSD, คอนโทรลเลอร์ USB Mouse 4CH 10.กล้องอินฟาเรด ขนาด 1/3″CMOS ความละเอียด 600 TVL 11.Harddisk western digital ขนาด 500 GB รวมราคา 14,097.25 บาท นี่คือราคาของอุปกรณ์ Hardware ที่เราซื้อมาติดตั้ง รวม Vat 7% แล้วนะครับ สำหรับการเดินสายอุปกรณ์ทั้งหมดในส่วนของ Hardware ต้องขอขอบพระคุณพี่ประเสริฐ นายช่างใหญ่จากจังหวัดภูเก็ตเดินทางมาติดตั้งให้ครับ (งานนี้จะเป็นงานเดินสายสัญญาณบนฝ้าเพดานครับ)       รูปที่ 1 แสดงการเชื่อมต่ออุปกรณ์กล้องวงจรปิด   เตรียมอุปกรณ์ Software+Config มีอะไรบ้าง ? (สำหรับการติดตั้งกล้องวงจรปิด 4 ช่องสัญญาณครับ)   1. หน้าจอสำหรับ Monitor เครื่อง DVR  สำหรับการเข้าใช้งานครั้งแรก         ใส่ User Name : admin , Password : 123456   (การทำงานของระบบคลิกซ้ายคือการเข้าใช้งาน คลิกขวาคือการย้อนกลับไปยังเมนูก่อนหน้า) 2. วิธีการตั้งค่าวันที่และเวลาเครื่อง คลิกขวาเลือก Main Menu > Configuration > System ตั้งค่าวันที่และเวลาเรียบร้อยแล้วกดปุ่ม Save กด Apply และกด OK 3. วิธีการตั้งค่าการบันทึก คลิกขวาเลือก Main Menu > Configuration >Record Channel คือ การเลือกกล้อง Resolution คือขนาดของภาพ แนะนำที่ D1 Frame Rate คือ ความเร็วในการบันทึก Real-time อยู่ที่ 25 FPS สามารถ config All Channel ได้จากฟังก์ชัน Copy ครับ 4. วิธีการเลือกรูปแบบการบันทึก สามารถเลือกได้

Read More »

hands on backup joomla website and restore

เรื่อง hands on backup joomla website and restore นี้จัดเตรียมโดยใช้ Oracle VM VirtualBox เพื่อฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการ backup website ในตัวอย่างจะใช้ joomla web site ซึ่งการ backup คงจะมีหลายแบบตามชนิดของการตั้ง website ในกรณีนี้ก็จะเป็นแบบตั้ง server เองแล้วใช้ apache web server + mysql server ที่ติดตั้งเอง สภาพแวดล้อมที่เตรียมมีดังนี้ ubuntu router: มี Fix IP Address 10.0.100.1 (แจก DHCP IP Address ให้แก่ server1, server2 และ client) server1: 10.0.100.206 (joomla website รันบน apache web server) server2: 10.0.100.207 (backup) client: 10.0.100.205 (เพื่อใช้งาน ssh ผ่านทาง terminal และเพื่อใช้งาน firefox web browser) รูปภาพระบบทดสอบนี้   การเตรียม VM ดาวน์โหลด [ ubunturouter-dhcp.ova  1.1GB ]  [ ubuntuserver-lamp.ova  1.2GB ] [ linuxmint15-live.ova 81KB]  [ linuxmint-15-mate-dvd-32bit.iso  1.0GB ] หรือได้รับแผ่น DVD ไฟล์ทั้งหมดนี้ แล้วทำดังนี้ 1. ทำ import ไฟล์ ubunturouter-dhcp.ova ตั้งชื่อว่า ubuntu router ตั้ง network adapter1: NAT, ตั้ง network adapter2: internal network (ตั้ง name: intnet1) 2. ทำ import ไฟล์ ubuntuserver-lamp.ova ตั้งชื่อว่า server1 ตั้ง network adapter1: internal network (ตั้ง name: intnet1) 3. ทำ import ไฟล์ ubuntuserver-lamp.ova อีกครั้ง ตั้งชื่อว่า server2 ตั้ง network adapter1: internal network (ตั้ง name: intnet1) 4. ทำ import ไฟล์ linuxmint15-live.ova ตั้งชื่อว่า client ตั้ง network adapter1: internal network (ตั้ง name: intnet1) และตั้งค่า Storage ใช้ CD/DVD ด้วยไฟล์ linuxmint-15-mate-dvd-32bit.iso หมายเหตุ เครื่อง 1,2 และ 3 เปิดเครื่องเข้าใช้ด้วย login mama / password 123456 การเตรียมทำ joomla site ทดสอบ 1. สร้าง database ที่ต้องการติดตั้ง ตัวอย่าง สร้าง database ชื่อ testdatabase ใช้คำสั่ง mysql -uroot -p123456 -e “CREATE DATABASE testdatabase CHARACTER

Read More »

การติดตั้งโปรแกรมชุด Monitor Server (CentOS 6 + Epel + NRPE + NagiosQL + NagiosGraph)

เนื้อหา 1 วิธีการติดตั้ง CentOS และ EPEL Repository 2 วิธีการตั้งค่า Time Sync 3 วิธีการปิด selinux และ firewall 4 ตัวอย่างวิธีการ เปิด rule โดยไม่ปิด Firewall 5 วิธีการติดตั้ง Nagios 6 ขั้นตอนการเตรียมการติดตั้ง NagiosQL 7 วิธีการติดตั้ง NagiosQL 8 วิธีการติดตั้ง NagiogGraph วิธีการติดตั้ง CentOS และ EPEL Repository OS : CentOS 6.3 Nagios : 3.4.X 1) ติดตั้ง CentOS 6.3 2) ตั้งค่า Network 3) ทำการ Update CentOS ให้ใหม่สุดดังนี้ # yum update 4) ทำการเปิด Repository EPEL โดยโหลดไฟล์จากดังตัวอย่าง ในตัวอย่างเป็น Version 6.8 อาจโหลดไม่ได้ถ้ามี Version ใหม่กว่าออกมา # wget http://mirrors.thzhost.com/epel/6/x86_64/epel-release-6-8.noarch.rpm 5) ทำการติดตั้ง EPEL rpm ดังนี้ # rpm -ivh epel-release-6-8.noarch.rpm 6) ทำการ Update CentOS อีกครั้ง Top วิธีการตั้งค่า Time Sync 1) ติดตั้ง ntpd ดังนี้ # yum install ntp 2) ติดตั้งโปรแกรม vim เพื่อใช้ในการแก้ไขไฟล์ ดังนี้ # yum install vim 3) แก้ไขไฟล์ /etc/ntp.conf ดังนี้ … # Please consider joining the pool (http://www.pool.ntp.org/join.html). #server 0.centos.pool.ntp.org #server 1.centos.pool.ntp.org #server 2.centos.pool.ntp.org server time.psu.ac.th server ntp.ku.ac.th … 4) ทำการ update เวลาให้ตรงก่อน Start Service ntp ดังนี้ # ntpdate time.psu.ac.th 5) ทำการ Start Service ntp และตั้งให้รันตอนเปิดเครื่อง ดังนี้ # service ntpd start # chkconfig ntpd on 6) คำสั่งสำหรับ Check สถานะการ Sync ต้องรอหลัง Start Service สักพัก * หน้าชื่อ Server เป็นตัวบอกว่าเป็น Server ที่กำลัง Sync เวลาด้วยล่าสุด (Service จะเลือกเองว่าจะเลือกใช้ Server ไหน) # ntpq -p Top วิธีการปิด selinux และ firewall 1) ทำการแก้ไขไฟล์ /etc/selinux/config ดังนี้ … # disabled – No SELinux policy is loaded. # SELINUX=enforcing SELINUX=disabled # SELINUXTYPE= can take

Read More »