Error 0x8007232b or 0x8007007B occurs when you try to activate Windows

ตรวจสอบว่าแจ้ง IP address แล้วหรือไม่ หากยังไม่ด้แจ้งมาสามารถแจ้งได้ที่ http://www.cc.psu.ac.th/complains ตั้งค่า DNS Suffix แล้วหรือไม่ ให้ตั้งค่า DNS Suffix ว่า psu.ac.th หากมีหลายโดเมนก็ให้ psu.ac.th เป็นอันแรก ตั้ง Time zone เป็น GMT+7 แล้วหรือไม่ รอให้มัน activate เองซึ่งปกติจะ activate เองอัตโนมัติทันทีเมื่อข้อ 1-3 ผ่านหมดแล้ว กรณีที่รอหลายวันแล้ว (เกิน 7 วัน) มันก็ยังไม่ activate ให้ตรวจสอบตามข้อถัดไป เปิด cmd ด้วยสิทธิ์ของผู้ใช้ในกลุ่ม administrators ping kms1.psu.ac.th ต้องได้ผลลัพธ์ว่า Pinging kms1.psu.ac.th [192.168.102.167] with 32 bytes of data: Reply from 192.168.102.167: bytes=32 time=1ms TTL=127 Reply from 192.168.102.167: bytes=32 time=3ms TTL=127 Reply from 192.168.102.167: bytes=32 time=1ms TTL=127 Reply from 192.168.102.167: bytes=32 time=1ms TTL=127 Ping statistics for 192.168.102.167:     Packets: Sent = 4, Received = 4, Lost = 0 (0% loss), Approximate round trip times in milli-seconds: Minimum = 1ms, Maximum = 3ms, Average = 1ms nslookup -type=all _vlmcs._tcp ต้องได้ผลลัพธ์ว่า _vlmcs._tcp.psu.ac.th   SRV service location: priority       = 0 weight         = 0 port           = 1688 svr hostname   = kms1.psu.ac.th _tcp.psu.ac.th  nameserver = dc5.psu.ac.th _tcp.psu.ac.th  nameserver = dc2.psu.ac.th _tcp.psu.ac.th  nameserver = dc3.psu.ac.th _tcp.psu.ac.th  nameserver = dc7.psu.ac.th _tcp.psu.ac.th  nameserver = dc6.psu.ac.th _tcp.psu.ac.th  nameserver = dc1.psu.ac.th _tcp.psu.ac.th  nameserver = dc4.psu.ac.th kms1.psu.ac.th  internet address = 192.168.102.167 dc1.psu.ac.th   internet address = 192.168.100.59 dc2.psu.ac.th   internet address = 192.168.101.37 dc3.psu.ac.th   internet address = 192.168.128.23 dc4.psu.ac.th   internet address = 192.168.192.28 dc5.psu.ac.th   internet address = 192.168.240.31 dc6.psu.ac.th   internet address = 192.168.224.11 dc7.psu.ac.th   internet address = 192.168.100.97 สั่งคำสั่งต่อไปนี้ cscript

Read More »

อยากได้ linux mint ไปใช้ ต้องทำอย่างไร

หากท่านต้องการแผ่นดีวีดี linux mint เพื่อนำไปทดลองใช้งาน หรือ ติดตั้งลงฮาร์ดดิสก์ สำหรับท่านที่อยู่ต่างประเทศ แนะนำให้ไป download จากเว็บไซต์ http://www.linuxmint.com/ แต่สำหรับพวกเราที่อยู่ใน ม.อ. หรือ ในประเทศไทย สามารถเลือก download ได้ที่ https://licensing.psu.ac.th/ เลือก Search Results for: linux mint เวอร์ชั่นปัจจุบันที่เขียน blog ในวันนี้ เป็นเวอร์ขั่นที่ออกเมื่อ 31 พ.ค. 2557 linux mint 17 อยู่ที่ https://licensing.psu.ac.th/linux-mint-17-qiana-released/ การเลือกแผ่นดีวีดีที่ต้องการ หากต้องการการแสดงผลที่หวือหวา วูบวาบ ก็เลือก cinnamon หากต้องการให้ compat กับเกมส์ Windows ที่จะนำมาลงผ่านโปรแกรม Wine ของ linux ก็เลือก mate หากเครื่องคอมฯมี RAM มากกว่า 4 GB ก็ใช้รุ่น 64 bit ไฟล์ iso ที่จะ Download มีชื่อแบบนี้ linuxmint-17-cinnamon-dvd-32bit.iso linuxmint-17-cinnamon-dvd-64bit.iso linuxmint-17-mate-dvd-32bit.iso linuxmint-17-mate-dvd-64bit.iso การเขียนแผ่นดีวีดี linux mint จากไฟล์ iso เมื่อ download ไฟล์ iso ของ linux mint มาได้แล้ว สำหรับ linux ก็ให้ใช้โปรแกรมสำหรับเขียนแผ่นดีวีดี ชื่อ Brasero จาก Menu > Sound & Video > Brasero > เลือก burn สำหรับ Windows 7, 8, 8.1 คลิกขวาและเลือกคำสั่ง burn นอกจากนี้ ผมยังได้ทำแผ่นพิเศษขึ้นเพื่อแนะนำซอฟต์แวร์โอเพนซอร์สที่น่าใช้และติดตั้งเพิ่มได้จาก linux mint ไม่ได้ไป download จากที่เว็บไหนเลย หากสนใจวิธีทำก็อ่าน เบื้องหลังการทำแผ่น ครับ) หากต้องการ download ไฟล์ iso ของ linux mint ฉบับติดตั้งโปรแกรมเพิ่มแล้ว ที่นี่ครับ http://ftp.psu.ac.th/pub/linuxmint/linuxmint-17-psu-cc-32bit.iso md5sum: ตรวจสอบจากไฟล์ http://ftp.psu.ac.th/pub/linuxmint/linuxmint-17-psu-cc-32bit.iso.md5 และมีของแถมเป็นแผ่นพับ (Bochure) คำแนะนำการใช้แผ่นดีวีดี linux mint http://opensource.cc.psu.ac.th/wiki-opensource/images/b/bb/Bochure-linuxmint-2-for-printing-only.pdf สุดท้าย ผมมีเอกสารแนะนำการใช้งาน linux mint อยู่บ้างที่นี่ครับ http://opensource.cc.psu.ac.th/Linuxmint  

Read More »

การทำแผ่นดีวีดี linux mint ฉบับติดตั้งโปรแกรมเพิ่มแล้ว

ผมแจกฟรีแผ่น DVD linux mint 17 ฉบับติดตั้งโปรแกรมเพิ่ม ที่ห้องโถงอาคารศูนย์คอมพิวเตอร์ ผมก็คิดว่าน่าจะนำความรู้มาเผยแพร่ไว้ตรงนี้ด้วย ลองอ่านดูนะครับ เริ่มต้น ผมก็ไปเอาไฟล์ linuxmint-17-mate-dvd-32bit.iso จากเว็บไซต์ https://licensing.psu.ac.th/linux-mint-17-qiana-released/ ซึ่งไฟล์ที่วางไว้ในเว็บไซต์นี้ก็ไป download มาจากของแท้ที่เมืองนอกนะครับ นำมาติดตั้งเป็น Virtual Machine ในโปรแกรม Oracle VM VirtualBox โดยสร้าง username คือ mint password คือ mint และตั้งให้ auto login จากนั้นก็ปรับแต่งการอัปเดตเวอร์ชั่นให้อัปเดตจากเซิร์ฟเวอร์ในมหาวิทยาลัย (ในเมืองไทย) โดยการแก้ไขที่ไฟล์ official-package-repositories.list ด้วยคำสั่งดังนี้ sudo vi /etc/apt/sources.list.d/official-package-repositories.list โดยเปลี่ยน 2 แห่ง คือ 1.เปลี่ยนจาก archive.ubuntu.com เป็น th.archive.ubuntu.com 2.เปลี่ยนจาก packages.linumint.com เป็น mirrors.psu.ac.th/linuxmint-packages ต่อไปก็ตั้งค่า time zone ดังนี้ Menu > Administration > Time and Date > Click to make changes Time zone: Asia/Bangkok ต้องการให้ผู้ได้รับแผ่นดีวีดีนี้ไปใช้งานได้สะดวก จึงเพิ่มคำสั่งนี้เพื่อให้ไม่ต้องถาม password ทุกครั้งที่จะเพิ่มโปรแกรม sudo sh -c “echo ‘mint ALL=NOPASSWD: ALL’ >> /etc/sudoers” ผู้ใช้งานส่วนใหญ่จะใช้ฟอนต์ภาษาไทย TH SarabanPSK ผมก็ช่วยลงให้ซะเลย sudo wget ftp://ftp.psu.ac.th/pub/thaifonts/sipa-fonts/*ttf -P /usr/share/fonts/truetype/thai ติดตั้งโปรแกรมต่างๆเพิ่มดังนี้ สำหรับแสดงรายชื่อ hardware sudo apt-get install lshw-gtk สำหรับตรวจเช็คสถานะ LAN card sudo apt-get install ethtool สำหรับดึงข้อมูลเว็บเพจมาดำเนินการ sudo apt-get install curl สำหรับใช้งานเบราว์เซอร์ google chrome sudo touch /etc/default/google-chrome แล้วไป download จากเว็บไซต์ของ google อาจทำด้วยคำสั่งข้างล่างนี้ wget -q -O – https://dl-ssl.google.com/linux/linux_signing_key.pub | sudo apt-key add – sudo sh -c ‘echo “deb http://dl.google.com/linux/chrome/deb/ stable main” >> /etc/apt/sources.list.d/google.list’ sudo apt-get update sudo apt-get install google-chrome-stable ติดตั้งโปรแกรมต่างๆ ผ่านทาง Menu > Software Sources 1. Tuxmath  : เกมส์คิดเลขเร็ว 2. Tuxpaint  : เด็กหัดใช้เมาส์วาดภาพและตัวปั้มหมึก 3. Shutter  : screen capture tool 4. RecordMyDesktop and gtk-recordmydesktop  : บันทึกหน้าจอเป็นวิดีโอ 5. winff  : แปลงชนิดไฟล์ของไฟล์เสียง 6. audacity  : ตัดหรือต่อไฟล์เสียง 7. gparted  : สร้างหรือเปลี่ยนแปลง disk partition 8. openshot  : ตัดหรือต่อวิดีโอ ไฟล์เสียง เพื่อทำเป็นวิดีโอ 9. libavcodec-extra-54 

Read More »

แก้ปัญหา ubuntu server 14.04 เปลี่ยน eth0 เป็น em1

เรื่องมีอยู่ว่า ผมและวิศิษฐ ช่วยกันทำต้นฉบับ PSU12-Sritrang ใหม่เมื่อมี ubuntu 14.04 ออกมาแล้ว เดิมใช้ ubuntu 12.04 มาโดยตลอด ปัญหานี้เกิดขึ้นตั้งแต่ ubuntu เปลี่ยนเวอร์ชั่นเป็น 13.04 แล้ว คือ เมื่อ clone ไปแล้ว บูต server แล้วจะไม่เห็น eth0 เมื่อตรวจสอบด้วยคำสั่ง dmesg | grep eth0 ก็พบว่าบรรทัดที่มีข้อความว่า renamed eth0 to em1 วิศิษฐ ค้นเจอว่า หากต้องการบังคับให้ใช้แบบเก่า คือ ใช้ eth0 จะต้องแก้ไขไฟล์ /etc/default/grub ทำดังนี้ หากใช้ editor vi คล่อง ก็ใช้คำสั่งนี้ sudo vi /etc/default/grub หากไม่คล่อง ก็ใช้ดังนี้ sudo nano /etc/default/grub ในไฟล์ /etc/default/grub ให้หาบรรทัด GRUB_CMDLINE_LINUX_DEFAULT=”” แก้ไขเป็น GRUB_CMDLINE_LINUX_DEFAULT=”net.ifnames=1 biosdevname=0″ จากนั้นให้สั่งคำสั่งนี้ด้วย sudo update-grub เท่าที่ทดสอบผลกับเครื่องที่มีปัญหา สามารถบังคับให้ใช้ eth0 ได้ครับ ยังไม่พบว่าวิธีการนี้จะใช้ไม่ได้เมื่อมีการ update versions ของ ubuntu ยังคงต้องตรวจสอบในเวอร์ชั่นต่อไป   อัปเดตข้อมูล (17 มี.ค. 2559) ใน ubuntu 16.04 server ผมกลับพบว่า คำสั่งนี้ใช้ไม่ได้ GRUB_CMDLINE_LINUX_DEFAULT=”net.ifnames=1 biosdevname=0″ แต่คำสั่งข้างล่างนี้ใช้ได้ GRUB_CMDLINE_LINUX_DEFAULT=”net.ifnames=0″ ทำให้ใช้ eth0 ได้ ซึ่งการกำหนดค่า net.ifnames=0 นี้นำมาจากเอกสารที่อ้างอิง [1] ข้างล่างนี้ ผมเลือกใช้ option ที่ 3   และมีคำอธิบายในเรื่องความเปลี่ยนแปลงในการใช้ชื่อ network interface name ใน [2]   Reference: [1] http://www.freedesktop.org/wiki/Software/systemd/PredictableNetworkInterfaceNames/ [2] https://lists.ubuntu.com/archives/ubuntu-devel/2015-May/038761.html  

Read More »

การทดสอบประสิทธิภาพ Web Server ประเภท Static Page : Apache2 vs Lighttpd บนเครื่อง Ubuntu 14.04 LTS

เครื่องมือในการทดสอบ Web Server OS : Ubuntu 14.04 LTS Client OS : Windows 8.1 Software : Apache Jmeter 2.11 Environment : Web Server Ubuntu Server (Oracle VM VirtualBox) Intel Haswell 1.6GHz (2.30GHz) 4 core RAM 512G Client Windows 8.1 (Physical Notebook) Intel Haswell 1.6GHz (2.30GHz) Intel Haswell 4 core RAM 8G – รันอยู่บนเครื่องเดียวกัน – ใช้ค่า Default ไม่มีการ Tuning เพิ่มเติม วิธีการทดสอบ 1. ทำการตั้งค่า Apache ให้อยู่คนละ Port กับ Lighttpd 2. ทำการสร้าง Static Page โดยมีตำแหน่ง และ HTML Code (index.html) ดังนี้ Apache : /var/www/html/index.html สำหรับ Apache ให้ rename ไฟล์เดิมก่อนเนื่องจากมีไฟล์อยู่แล้วด้วยคำสั่งดังนี้ sudo mv /var/www/html/index.html /var/www/html/index.html_bak Lighttpd : /var/www/index.html <!DOCTYPE HTML PUBLIC -//W3C//DTD HTML 4.0 Transitional//EN”> <html> <head> <title>Webserver test</title> </head> <body> This is a webserver test page. </body> </html> 3. เปิดโปรแกรม Jmeter ทำการ Add Thread Group, HTTP Request, View Results Tree และ Graph Results 4. ทำการทดสอบโดยชี้ไปที่ Web Site ของ Web Server ที่ต้องการ โดยมีตัวอย่างดังรูป (จะสังเกตุว่ามีการตั้งค่า Timeout = 1500 ms เพื่อป้องกันโปรแกรมค้าง เนื่องจาก Web Server ไม่ยอมตอบ) *หมายเหตุ ระหว่างรัน Test สามารถตรวจสอบการทำงานของเครื่อง Web Server โดยติดตั้งโปรแกรมชื่อ htop ดังนี้ sudo apt-get install -y htop พิมพ์คำสั่ง htop จะปรากฎหน้าจอดังรูป การตั้งค่าทดสอบ Number of Threads (users) : 500,1000,2000,2500,3000 Ramp-Up Period (in seconds) : 1 Loop Count : 1 ตัวอย่างการทดสอบ จำนวน Users ที่เปิด Page ไม่สำเร็จ Number of Threads (users) 500 1000 2000 2500 3000 Apache2 0 28 424 2232 Jmeter Hang

Read More »