การสร้างระบบ Load Balance Web Server ด้วยวิธีการ URL Redirect

เราสามารถสร้างระบบ Load Balance Web Server ด้วยวิธีการ URL Redirect โดยสามารถสร้างด้วยภาษาใดก็ได้ แต่จะขอยกตัวอย่างด้วยภาษา PHP ได้ง่าย ๆ ดังนี้ ตัวอย่างไฟล์ server-status ที่ได้ทำการ monitor web server มาเรียบร้อยแล้ว webserver1.testlab UP webserver2.testlab DOWN – เราสามารถใช้คำสั่งดึงไฟล์เพื่อคัดเฉพาะ Web Server ที่สามารถใช้งานได้จริง ๆ ดังนี้ exec(“cat /tmp/server-status | grep UP”,$redirect); – จากนั้นจะทำการ นำรายการ server ทั้งหมดซึ่งอยู่ในตัวแปร $redirect มาทำการสุ่ม ดังนี้ $random = rand(0,(count($redirect)-1); – ก็จะทำเอาเลข server ที่ random ได้ไปเข้ากระบวนการ Redirect … Read more

วิธีการตั้งค่า CNAME และ TXT เพื่อ Verification กับ Google Site

Google Site เป็บบริการหนึ่งของ Google ซึ่งให้เราสร้างเว็บไซต์ได้อย่างง่ายๆ เหมาะสำหรับการงานที่ต้องการความรวดเร็วในการสร้าง และสามารถประสานกับเครื่องมือต่างๆของ Google ได้มากมาย เช่น จะสร้างแบบฟอร์มรับสมัครเข้าร่วมโครงการ, ทำรายงานผู้ที่ชำระเงินแล้ว, ผนวกกับ Google Map เพื่อแสดงตำแหน่งที่จัดงาน และสถานที่ท่องเที่ยว หรือ อื่นๆอีกมากมาย (วิธีการสร้าง จะกล่าวในบทความต่อๆไป)  ในบทความนี้ เป็นการสร้าง เว็บไซต์ของงาน ประชุมสภาข้าราชการ พนักงานและลูกจ้างแห่งประเทศ (ปขมท) ๒๕๕๗ และเน้นที่ การเชื่อม Domain Name ของมหาวิทยาลัย ซึ่งใช้ Bind DNS เข้ากับ Google Site โดย Google Site ที่แสดงในตัวอย่าง สร้างที่ https://sites.google.com/site/cuast57/ ซึ่ง ชื่อจะจำได้ยาก จึงขอใช้ Domain Name สั้นๆชื่อ cuast57.psu.ac.th วิธีการมีดังนี้ 1. ไปที่ Setting … Read more

Short Note on Workshop “Web Application Development Workflow”

ผมชวนเพื่อนๆ CoP PSU IT ซึ่งเป็นรุ่นน้องชื่อคุณราชศักดิ์ บูรณะพาณิชย์กิจ และพัฒนาวดี ศิวติณฑุโก อยู่ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ มาจัด Workshop ใช้เวลา 1 วัน เรื่อง Web Application Development Workflow วิทยากรเตรียม slide ที่นี้ครับ http://bratchasak.github.io/slide/ คร่าวๆ คือ แนะว่า Web Application Development Workflow คืออะไร อธิบายว่าขั้นตอนของการพัฒนาและเครื่องมือที่ใช้ในการทำงาน ก็คือ Chrome Browser และ Sublime Text และติดตั้งโปรแกรม Git ใช้งานแบบ command line และ github for Windows แบบ GUI และสมัครบริการที่จำเป็นต้องใช้ก็คือ GitHub web เครื่องมือทั้งหมดนี้ก็จะสร้างระบบ Version control … Read more

แนวทางการแก้ปัญหาความขัดแย้ง (Conflict) ระหว่างปลั๊กอิน JS

ปัจจุบันมีปลั๊กอิน (Plug-in)  จาวาสคริปมากมาย ที่ช่วยให้การพัฒนาเว็บแอพพลิเคชั่นเป็นไปอย่างสะดวกรวดเร็วและง่ายดาย สามารถสร้างลูกเล่นและความสามารถต่างๆ โดยที่ไม่จำเป็นต้องลงแรงเขียนโค้ด ทำให้ประหยัดเวลาการทำงานได้อย่างมาก เฟรมเวิร์ก (Framework) จาวาสคริปที่ได้รับความนิยมอันดับหนึ่งอย่าง Jquery ที่มีปลั๊กอินให้เลือกใช้อย่างมากมายที่เป็นนิยมกันมากและถูกใช้เฟรมเวิร์กพื้นฐานในการพัฒนาเว็บแอพพลิเคชั่นเป็นส่วนใหญ่ แต่หากเรามีความจำเป็นต้องใช้ร่วมกับเฟรมเวิร์กตัวอื่นๆ อาจทำให้เกิดปัญหาความขัดแย้งการทำงาน (Conflict) ระหว่างเฟรมเวิร์กหรือปลั๊กอินได้ สาเหตุหลักที่ทำให้เกิดความขัดแย้งคือ การที่ชื่อตัวแปรหรือฟังก์ชัน ในโค้ดโปรแกรมระหว่างปลั๊กอินซ้ำและเหมือนกัน ทำให้โปรแกรมเกิดความสับสนและทำให้ปลั๊กอินไม่ทำงาน วิธีการแก้ไขคือเข้าไปไล่โค้คเพื่อเปลี่ยนชื่อตัวแปรใหม่ หรือเลือกใช้ปลั๊กอินตัวใดตัวหนึ่งเท่าที่จำเป็นที่สุด หากมีความจำเป็นต้องใช้เฟรมเวิร์กหรือปลั๊กอินจากหลายๆ ค่ายอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้แล้วจริงๆ ผมก็ลองค้นหาวิธีการที่เป็นสูตรสำเร็จแล้วไม่พบว่ามีวิธีการที่ใช้ได้อย่างชัดเจน หากผู้อ่านท่านทราบวิธีการที่ดีกว่านี้ก็แลกเปลี่ยนกันได้ครับ ซึ่งจากประสบการณ์ที่ใช้อยู่ก็มีวิธีการเบื้องต้นที่ได้กล่าวไปแล้วและมีอีกวิธีการเลือกหนึ่งคือ การคัดกรองให้ใช้น้อยที่สุด (Customize) โดยก่อนที่จะดาวน์โหลดปลั๊กอินมาใช้ ซึ่งปลั๊กอินส่วนใหญ่จะมีเมนุที่ชื่อ JavaScript components ให้เลือก เทคนิคก็คือเลือกเอาออกให้หมด แล้วคลิกเลือกเฉพาะเท่าที่จำเป็นต้องใช้เท่านั้น ซึ่งเราจะทราบได้โดยการนั่งไล่ชื่อ JavaScript components ระหว่างทั้งสองเฟรมเวิร์กโดยให้ยึดเฟรมเวิร์กตัวใดตัวหนึ่งไว้เป็นตัวทำงานหลัก ยกตัวอย่างที่ผมเคยใช้คือ Jquery Easy UI กับ  Bootstrap ผมจะยึด Jquery Easy UI เป็นตัวทำงานหลัก และปิดการทำงาน JavaScript components ของ Bootstrap  จากหน้าลิงค์นี้ (Customize and download) โดยเอาออกทุกตัวและเลือกกลับเข้าไปใหม่ที่คิดว่าจะทำไม่ให้เกิด Conflict (จุดสังเกตคือชื่อฟังก์ชัน) หวังว่าเทคนิคเล็กๆ … Read more

แนวโน้มในการพัฒนาเว็บแอพพลิเคชั่นในปี 2014

จากบทสัมภาษณ์ Wyke-Smith ซีอีโอของ @BublishMe ได้กล่าวถึงแนวโน้มในการพัฒนาและการออกแบบเว็บแอพพลิเคชั่นในปี 2014 ไว้ดังนี้ :- การเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างเว็บแอพพลิเคชั่น จะติดต่อสื่อสารกับแบบสองทาง (two-way binding) กันมากขั้น แนวโน้มการพัฒนา ที่จะช่วยให้เราประหยัดทั้งเวลาและเงินในกระเป๋า เฟรมเวิร์กที่ใช้พัฒนาบนส่วนการทำงานของเบื้องหน้าโปรแกรม (Front-End) ที่นิยมใช้กันได้แก่ NodeJS. AngularJS, Ember และ Backbone ฐานข้อมูลแบบ JSON จะได้รับความนิยมมากขึ้น เป็นการย้ายฐานข้อมูลแบบ SQL ไปเป็นในรูปแบบของ JSON ส่วนกลางการทำงานของโปรแกรม (Middleware) จะใช้ JavaScript การใช้ประโยชน์ของแฟรมเวิร์ก Angular จะเป็นทั้งการพัฒนาและการออกแบบเว็บ บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบและทักษะความรู้ความสามารถของนักพัฒนาเว็บกับนักออกแบบเว็บไซต์จะเหมือนกัน สามารถอ่านรายละเอียดแต่ละเทคโนโลยีจากแหล่งที่มาครับ Cr: Web Professional Trends 2014