รู้จักกับ Kubernetes และวิธีติดตั้ง Kubernetes ด้วย CoreOS (ตอนที่ 1 Master Node)

ถ้าต้องการระบบจัดการ docker container สักตัวต้องทำอย่างไร             เมื่อกล่าวถึงระบบจัดการ docker container สักตัวหนึ่ง มักจะกล่าวถึง opensource ตัวหนึ่งชื่อ kubernetes ซึ่งเป็นเครื่องมือที่พัฒนาขึ้นมาด้วย Google[1] ซึ่งสามารถรองรับทั้งในส่วนของ Google Container Engine และ CoreOS จริง ๆ ลงได้บนอีกหลาย platform แต่สำหรับ CoreOS ได้ออกแบบมาให้รองรับ Kubernetes ทำให้การติดตั้งง่ายและสมบูรณ์มากขึ้น (อ่านไปเรื่อย ๆ จะสงสัยนี่ง่ายแล้วเหรอ แต่หลังจากเขียนบทความนี้เสร็จก็มีตัวติดตั้งตัวใหม่ชื่อ Tectonic[6] น่าจะเป็นตัวที่ทำให้การติดตั้งง่ายขึ้นครับ)             Kubernetes เป็นเครื่องมือที่ช่วย build, deploy และ scale ให้เป็นเรื่องง่าย ๆ และสามารถ replicate containner ได้ง่ายมาก การติดตั้ง Kubernetes บน Google Container Engine ง่ายมาก แต่การติดตั้งบน CoreOS จะยากกว่า ซึ่งสามารถติดตั้งแบบ Single Node และ Multi-Node ซึ่งถ้าจะทำ Multi-Node ต้องเชื่อมต่อไปยัง etcd service ที่ติดตั้งบน CoreOS Cluster ด้วยก็จะดีครับ (ไม่งั้นเป็น Cluster ที่ไม่สมบูรณ์) สามารถอ่านเพิ่มเติมได้ที่วิธีการติดตั้ง CoreOS Cluster[2] (ในบทความใช้ก่อนหน้านี้ CoreOS Cluster เขียนในส่วน ETCD Version 2 แต่การใช้งานกับ Kubernetes ต้องใช้ ETCD Version 3 ตอนนี้ยังไม่มีบทความเสริมในส่วนนี้ อาจจะต้องหาข้อมูลเองก่อนครับ จริง ๆ มีวิธีแต่ยังยากในการเขียนบทความ ไว้ค่อยเขียนเพิ่มให้อีกทีครับ) ซึ่งแน่นอนระหว่าง master node และ worker node มีการตรวจสอบเรื่อง certificate ระหว่าง service ด้วย             ตัวอย่าง Diagram ของระบบทั้งหมด[3] เรียนรู้การค่าเบื้องต้นก่อนการติดตั้ง[4] MASTER_HOST : คือ ชื่อ host ที่ node ลูกเอาไว้ติดต่อและให้เข้าถึงจาก external client  เช่นเวลาสั่งสร้างเครื่องก็จะสั่งผ่านตัวนี้ ในกรณที่ต้องการทำ HA MASTER_HOST จะถูกใช้เป็น load balance โดยใช้ร่วมกับ DNS name โดยการคุยกันระหว่าง MASTER_HOST และ worker (node ลูก) จะใช้ port 443 และมีการเข้ารหัสและยืนยันด้วย TLS Certificate ETCD_ENDPOINT : คือ บริการของ etcd service ซึ่งมีใน CoreOS Cluster ที่ติดตั้งไว้ ให้ใส่ไปให้หมดว่ามีเครื่องอะไรบ้าง คั่นด้วย , (ในที่นี้ไม่ได้ใช้ fleet สร้างเครื่อง หลังจากลงเสร็จจะใช้ kubectl สร้างแทน) POD_NETWORK : เช่น 10.2.0.0/16 ใช้สำหรับกำหนดวง IP ของ pod (pod คือ ชื่อเรียก container อาจจะแค่ 1 container เหรือเรียกเป็นกลุ่มของหลาย ๆ container ที่สร้างด้วย kubernetes) SERVICE_IP_RANGE : เช่น 10.3.0.0/24 ใช้สำหรับ service

Read More »

อยากรู้ว่า Windows 10 Firewall Inbound Rules เปิดหรือปิด SMBv1, SMBv2 หรือไม่

อยากรู้ว่า Windows 10 Firewall Inbound Rules เปิดหรือปิด SMBv1, SMBv2 หรือไม่ ทดสอบจากเครื่อง Linux ที่ตั้งอยู่ใน network เดียวกัน ทำ nmap ค้นหา SMB (TCP Port 445) ไปที่เครื่อง Windows IP 192.168.x.yy   ครั้งที่ 1 รายการ File and Printer Sharing (SMB-In) ใน Firewall Inbound Rules เมื่อตั้งค่า Enabled = No ผลลัพธ์ $ nmap -A -T4 -Pn -p445 192.168.x.yy Starting Nmap 7.01 ( https://nmap.org ) at 2017-05-15 13:52 ICT Nmap scan report for 192.168.x.yy Host is up. PORT STATE SERVICE VERSION 445/tcp filtered microsoft-ds Nmap done: 1 IP address (1 host up) scanned in 2.39 seconds ครั้งที่ 2 รายการ File and Printer Sharing (SMB-In) ใน Firewall Inbound Rules เมื่อตั้งค่า Enabled = Yes ผลลัพธ์ $ nmap -A -T4 -Pn -p445 192.168.x.yy Starting Nmap 7.01 ( https://nmap.org ) at 2017-05-15 13:55 ICT Nmap scan report for 192.168.x.yy Host is up (0.00048s latency). PORT STATE SERVICE VERSION 445/tcp open microsoft-ds Microsoft Windows 10 microsoft-ds Service Info: OS: Windows 10; CPE: cpe:/o:microsoft:windows_10 Host script results: | smb-security-mode: | account_used: guest | authentication_level: user | challenge_response: supported |_ message_signing: disabled (dangerous, but default) |_smbv2-enabled: Server supports SMBv2 protocol Nmap done: 1 IP address (1 host up) scanned in 47.82 seconds ครั้งที่ 3 รายการ File and Printer Sharing (SMB-In) ใน Firewall Inbound Rules เมื่อตั้งค่า

Read More »

TODO: สำหรับผู้ใช้ Microsoft Windows เพื่อป้องกัน Wana Decrypt0r Ransomware

สิ่งที่ต้องทำ สำหรับ ผู้ใช้ Microsoft Windows และ สำหรับผู้ดูแลระบบของหน่วยงาน Backup หรือ สำรองข้อมูลสำคัญ ไว้ใน External Harddisk, USB Drive, Cloud Drive กรณี Windows Vista, Windows XP, Windows 8 ให้ไปที่ Website นี้ เพื่อ Download ตัว Update ที่ตรงกับ Windows ของตน มาติดตั้ง (MS17-101 หรือ KB4012598) http://www.catalog.update.microsoft.com/Search.aspx?q=KB4012598 กรณี Windows 7 http://www.catalog.update.microsoft.com/search.aspx?q=4012212 กรณี Windows 8.1 http://catalog.update.microsoft.com/v7/site/search.aspx?q=4012213 กรณี Windows 10 Start > พิมพ์ Windows Update สำหรับคนที่ยังใช้ Windows XP ควรพิจารณา Upgrade มาเป็น Windows 10 โดยติดตั้ง Microsoft Windows รุ่นล่าสุดของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ต้องมี PSU Passport)ได้ที่ https://licensing.psu.ac.th/windows-10-education-version-1703-updated-march-2017-microsoft-imagine/   ขอให้โชคดี  

Read More »