• วิธีใช้งาน Kali Linux – BeEF – XSS Framework


    จาก วิธีใช้งาน Kali Linux – OWASP Zap – Active Scan ได้แสดงให้เห็นว่า เมื่อตรวจเจอช่องโหว่ Cross Site Scripting (XSS) บนเครื่องเป้าหมาย จากที่ได้เคยบรรยายไปใน Web Hacking and Security Workshop เรื่อง วิธีตรวจสอบเว็บไซต์ที่โดน Hack #9 : วิธีการ Hack ด้วย SQL Injection และ Cross-Site Scripting ซึ่งแสดงให้เห็นว่า หากมีช่องโหว่ดังกล่าว ทำให้สามารถใส่ JavaScript ลงไปได้ ซึ่งอาจจะดูไม่น่าจะอันตรายอะไร แต่ ถ้า Hacker พบช่องโหว่ XSS (reflected) นี้บน Website ของเรา แล้วส่ง URL ที่แนบ JavaScript ไปหลอกผู้ใช้ของเรา อาจจะเป็นทาง Email ก็จะเป็นปัญหาได้ ต่อไปนี้…

    >> Read More <<

  • วิธีใช้งาน Kali Linux – OWASP Zap – Brute Force with Fuzz


    ในการตรวจสอบ ความแข็งแกร่งของระบบป้องกันการโจมตี เรื่องหนึ่งคือความสามารถในการกัน Brute Force หรือ ความพยายามเดารหัสผ่าน OWASP Zap สามารถใช้เป็นเครื่องมือในการทำ Brute Force ได้ โดยใช้เครื่องมือที่ชื่อว่า Fuzz ขั้นตอนมีดังนี้ เปิด Zap และเปิด Web Browser ที่ตั้งค่าให้ Zap เป็น Proxy และ ทำการ Authentication ทดสอบดู ใน Zap จะปรากฏ POST Action ที่สำหรับส่ง Username และ Password เกิดขึ้น เลือก Username ที่ทดสอบใส่ลงไป แล้วคลิกขวา เลือก Fuzz จากนั้นคลิก Payloads จากนั้น คลิกปุ่ม Add เลือก Type เป็น Strings แล้วใส่…

    >> Read More <<

  • วิธีใช้งาน Kali Linux – OWASP Zap – User Authentication


    ในการตรวจสอบ Web Application ที่ต้องมีการ Authentication โดยใช้งานผ่าน Web Form จะต้องกำหนดค่าให้ OWASP Zap รู้ว่า จุดใดเป็น Login Form และ Field ใดที่ใช้เป็น Username และ Password ก่อน หลังจากนั้น จะสามารถกำหนดได้ว่า จะโจมตีด้วย Username ใดบ้าง เพื่อใช้ในการทดสอบ ขั้นตอนในการตั้งค่าและโจมตีมีดังนี้ ใน Web Browser ให้ตั้งค่า Proxy เป็น 127.0.0.1 Port 8080 ทำการเปิด Web Page ที่ต้องการโจมดี โดยให้ทำเป็น Login ตามปรกติ ด้วย Username/Password ที่ใช้งานได้จริง เมื่อ Login สำเร็จแล้ว จะได้หน้าตาประมาณนี้ จากนั้น กลับไปที่ OWASP…

    >> Read More <<

  • วิธีใช้งาน Kali Linux – OWASP Zap – Active Scan


    ใน Kali Linux มีเครื่องมือ Web Application Security Scanner ที่น่าสนใจตัวหนึ่ง คือ OWASP Zap (Open Web Application Security Project) เหมาะสำหรับการใช้งานตั้งแต่การทดสอบเบื้องต้น ไปจนถึงการโจมตีขั้นสูงได้ *** คำเตือน : อย่าใช้เครื่องมือนี้กับระบบคอมพิวเตอร์ที่ท่านไม่ใช่เจ้าข้องเด็ดขาด *** ในบทความนี้ จะแสดงขั้นตอนการทดสอบ Web Application โดยใช้กระบวนการ Active Scan ใน Kali Linux เปิด Applications > 03 Web Application Analysis > owasp-zap เลือก No, I do not want to persist this session at this…

    >> Read More <<

  • อย่าเชื่อ Tools จนเกินไป : กรณี joomscan


    ได้ยินหลายคนพูดถึงการใช้งานตรวจสอบ Website โดยเฉพาะ Joomla โดยใช้เครื่องมือที่ชื่อว่า joomscan ก็เลยลองติดตั้ง และ ทำการทดสอบกับ Web Server ใน VirtualBox ที่มีช่องโหว่ JCE ที่เจาะได้แน่ๆ เพื่อดูว่าเครื่องมือนี้ทำงานอย่างไร   ทำการโจมตีจาก Kali Linux ไปยังเครื่องเป้าหมาย ด้วย joomscan   รายงานผลแจ้งว่า joomscan มีการ Update ล่าสุด เมื่อ Oct 22, 2012 นั่นคือเมื่อ 4 ปีที่แล้ว รายผลที่แจ้งช่องโหว่ ที่เจาะได้ มีดังนี้ แสดงให้เห็นว่า ด้วย Tools ตัวเดียวอาจจะไม่สามารถมั่นใจได้ว่า ระบบของเราปลอดภัยหรือไม่ ฝากไว้พิจารณาครับ      

    >> Read More <<

  • การ Compile ออนไลน์


    เมื่อนักพัฒนาระบบต้องการเขียนโปรแกรมภาษาอะไร จำเป็นต้องทำการติดตั้ง Compiler สำหรับภาษานั้น ๆ เสียก่อน Compiler จะทำหน้าที่แปลภาษา Programming ไปเป็นชุดคำสั่งของเครื่อง เพื่อทำงานตามที่นักพัฒนาต้องการ บทความนี้จะแนะนำบริการออนไลน์สำหรับทดสอบ Code ภาษาต่าง ๆ ที่มีชื่อว่า compileonline ซึ่งสามารถทดสอบ Code ผ่านทางเว็บไซต์ เพื่อดูผลลัพธ์ โดยไม่ต้องเสียเวลาติดตั้ง Compiler หรือเปิด Developer Tool เอง สำหรับการทดสอบเล็ก ๆ น้อย ๆ ค่ะ ขั้นตอน ดังนี้ ไปที่ http://www.compileonline.com/ จากนั้นเลือกภาษา / Develop tool ที่ต้องการ ในที่นี้เลือก C# แสดงหน้าจอ ดังนี้ ตัวอย่าง C# คลิกปุ่ม “Compile” จะแสดงผลดัง Terminal ด้านล่าง –> สีแดง คลิกปุ่ม “Execute” จะแสดงผลดัง Terminal ด้านล่าง…

    >> Read More <<

  • ขั้นตอนการติดตั้ง HBase บน Hadoop อย่างง่าย


    HBase เป็น Database บน Hadoop [1] จากบทความ ขั้นตอนการติดตั้ง Hadoop Cluster อย่างง่าย จะได้ HDFS อยู่ที่ hdfs://192.168.1.101:9000 แล้ว ก็จะสามารถใช้ HBase บน Hadoop HDFS ได้ ขั้นตอนการติดตั้ง โคลนเครื่องต้นฉบับ แล้วตั้ง ip address ให้เรียบร้อย เช่น 192.168.1.121 ติดตั้ง HBase (mama shell) (mama shell) cd ~ wget http://www-us.apache.org/dist/hbase/stable/hbase-1.2.3-bin.tar.gz tar -zxvf hbase-1.2.3-bin.tar.gz sudo mv hbase-1.2.3 /usr/local/hbase sudo chown -R hduser.hadoop /usr/local/hbase sudo mkdir /usr/local/zookeeper sudo chown -R…

    >> Read More <<

  • ขั้นตอนการติดตั้ง Hadoop Cluster อย่างง่าย


    Hadoop เป็น Framework สำหรับสร้างการประมวลผลแบบกระจาย (Distributed Processing) กับข้อมูลขนาดใหญ่ (Large Data Sets) สามารถเริ่มต้นจากทดสอบบนเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องเดียว ไปจนเป็นระบบ Cluster ได้[1] อธิบายง่ายๆได้ว่า Hadoop ประกอบด้วย ส่วนประมวลผลแบบกระจายเรียกว่า YARN (หรือ MapReduce) และ ส่วนเก็บข้อมูลแบบกระจายเรียกว่า HDFS (Hadoop Distributed File System) สำหรับการสร้าง Hadoop Cluster ในบทความนี้ใช้ Hadoop version 2.7.2 บน Ubuntu 16.04 โดย Cluster จะประกอบด้วย 1 Master และ N Slaves โดยจะใช้วิธีการสร้างเครื่องต้นฉบับ แล้ว Clone ไปเป็น Master/Slave ต่อไป 1.ขั้นตอนการสร้างตันฉบับสำหรับการ Clone 1.1.…

    >> Read More <<

  • การแปลงข้อมูลในรูปแบบ JSON เป็นคลาส JAVA


    ในการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่าง application กับ service ที่ติดต่อกับฐานข้อมูลบน server โดยส่วนใหญ่ก็จะแลกเปลี่ยนข้อมูลโดยใช้รูปแบบ JSON ซึ่งในส่วนของแอพพลิเคชัน ต้องทำคลาสในการรับข้อมูลพื่อให้สามารถรับข้อมูลและนำไปใช้ได้สะดวกขึ้น ตัวอย่างข้อมูล JSON เช่น [                    {                              “point”: “40.266044,-74.718479”,                              “homeTeam”:”Lawrence Library”,                              “awayTeam”:”LUGip”,                              “markerImage”:”images/red.png”,                              “information”: “Linux users group meets second Wednesday of each month.”,                              “fixture”:”Wednesday 7pm”,                              “capacity”:””,                              “previousScore”:””                    },                    {                              “point”:”40.211600,-74.695702″,                              “homeTeam”:”Hamilton Library”,                              “awayTeam”:”LUGip…

    >> Read More <<