wilaiwan.h
จากบทความ Visual test automation ที่ได้กล่าวถึง Appraise ที่ใช้สำหรับทำการทดสอบการแสดงผลแบบอัตโนมัติในเบื้องต้น ตั้งแต่การติดตั้ง ตัวอย่าง test page, test fixture การเรียกใช้งานการทดสอบ และผลการทดสอบ บทความนี้จะมาลงรายละเอียดในการสร้าง test page Creating test pages Appraise สามารถกำหนดรูปแบบข้อกำหนดการทดสอบสำหรับการทดสอบส่วนแสดงผลได้ไม่ยุ่งยาก โดย Appraise จะทำการอ่านข้อมูลนำเข้า และ ผลลัพธ์ที่คาดหวัง จาก file ที่เขียนในรูปแบบ Markdown แล้วส่งต่อให้กับระบบทำการทดสอบ จากนั้นจะบันทึกภาพการแสดงผลที่เกิดขึ้น เปรียบเทียบภาพการแสดงผลที่ได้จริงกับผลลัพธ์ที่คาดหวัง โดยมีสิ่งที่จำเป็นที่จะต้องกำหนดสำหรับการทดสอบ 3 ส่วน คือ input expect output fixture Input (parameters ของ example) input parameters อยู่ในรูปแบบ text JSON หรือ YAML ในการกำนด input parameters…
>> Read More <<
kanakorn.h
ขั้นตอนการติดตั้ง Django ด้วย Python3 บน Windows ติดตั้ง Python จาก https://www.python.org/downloads/ เปิด cmd โดย Run As Administrator ใช้คำสั่ง python -m pip install django ทดสอบโดยใช้คำสั่ง python -m django –version สร้าง Project ด้วยคำสั่ง django-admin startproject mysite เข้าไปใน project “mysite” directory ด้วยคำสั่ง cd mysite ทดสอบ runserver python manage.py runserver เปิด website: http://127.0.0.1:8000/ เดี๋ยวมาต่อเรื่อง การสร้าง App, การใช้ Database, การ Authentication และการสร้าง…
grianggrai.n
เนื่องจากมีปัญหาเกี่ยวกับการแสดงผล error page ที่แสดงผลใน licensing.psu.ac.th จึงต้องหาทางแก้ไขการแสดง Error page 403 ใหม่ Plug in ชื่อ Custom Error Pages ติดตั้งแล้วเปิดใช้งานให้เรียบร้อย เพิ่มข้อความต่อไปนี้ในแฟ้ม .htaccess ErrorDocument 403 /index.php?status=403 ErrorDocument 401 /index.php?status=401 แต่เนื่องจากไซต์ที่แสดง error 403 ไม่ใช่ licensing.psu.ac.th แต่เป็น bahamut.psu.ac.th ซึ่งอาจจะมีหลายท่านเคยเจอข้อความประมาณ Forbidden You don’t have permission to access /licensing/SW_DVD5_Office_Professional_Plus _2013w_SP1_32-BIT_X64_English_X19-35900.ISO on this server. ฉะนั้นต้องไปสร้าง .htaccess ในพื้นที่ของไซต์ bahamut.psu.ac.th แทน ซึ่งอยู่ที่ /licensing มีข้อความว่า ErrorDocument 403…
pongspat.h
Component Decorator แต่ละ Stencil component จะต้องขึ้นต้นด้วย @Component() decorator เสมอ โดย import มาจาก @stencil.core package ซึ่งภายใต้ @Component() decorator สามารถกำหนด tag name และ styleUrl ของ component import { Component } from ‘@stencil/core’; @Component({ tag: ‘todo-list’, styleUrl: ‘todo-list.scss’ }) export class TodoList { … } @Component() decorator ให้ความสามารถในการกำหนด CSS classes และ attributes บน componnet ที่สร้างโดยใช้ host option ดังนี้ import { Component…
ในการพัฒนา software นั้น เรื่อง Look and Feel เป็นสิ่งที่สำคัญมาก ๆ software ที่ทำงานได้ดียังไม่พอ ต้องดูดีสวยงามและใช้งานง่ายอีกด้วย คำถามที่น่าสนใจคือ จะทำการทดสอบในส่วนของการแสดงผลอย่างไรบ้าง โดยปกติในการทำการทดสอบการแสดงผล จะใช้คนเป็นผู้ทดสอบ มานั่งดู มาใช้งาน แล้วพิจารณาและตัดสินว่า ถูกหรือไม่ ทำให้ต้องใช้เวลาและกำลังคนในการทดสอบค่อยข้างมาก เพราะว่าในส่วนของการแสดงผลนั้นมันยากมาก ๆ สำหรับการทดสอบ มีหลายสิ่งอย่างให้พิจารณา ยกตัวอย่างเช่น ในแต่ละ element แต่ละส่วนงานทำงานและแสดงผลได้อย่างถูกต้องแต่เมื่อนำมารวมกัน กลับทำงานไม่ถูกต้อง หรือ แสดงผลผิดพลาด การลดเวลาและต้นทุนในการทดสอบลงโดยใช้การทดสอบแบบอัตโนมัติ เป็นสิ่งจำเป็น และต้องมีเครื่องมือช่วย ในบทความนี้ขอแนะนำ Appraise ซึ่ง Appraise นั้นได้นำแนวทางของ Specification by Example มาใช้ นั่นหมายความว่า ในแต่ละ test case ต้องมี concrete example ที่ชัดเจน นำ test case เหล่านี้ไปทดสอบแบบอัตโนมัติ ทำการทดสอบด้วย Google Chrome Headless ซึ่งจะทำการ snapshot ส่วนที่ต้องการเป็นรูปภาพและเปรียบเทียบกับผลที่คาดหวังหรือไม่ ถ้าผลออกมาไม่ตรงกับที่คาดหวัง Appraise จะแสดงผลที่แตกต่างออกมาให้เห็น จากนั้นจะให้คนมา approve…
Stencil เป็น compiler ที่ทำหน้าที่สร้าง standards-based web component (custom element) ซึ่งรวบรวมแนวคิดที่ดีของ framework ต่างๆที่ได้รับความนิยมสูง มาไว้ใน component โดย build-time tool ที่ใช้งานง่าย เช่น Virtual DOM Async rendering (inspired by React Fiber) Reactive data-binding TypeScript JSX web component ที่ได้จาก Stencil เป็น standards-based web component ทำให้สามารถใช้งานร่วมกับ framework ต่างๆที่ได้รับความนิยม และสามารถใช้ได้โดยไม่มี framework ก็ได้ จากเดิมเมื่อพัฒนาด้วย framework หนึ่งแล้ว ไม่สามารถนำไปใช้ร่วมกับ framework อื่นได้ Stencil มี APIs เช่น…
benjawan.n
ก่อนหน้านี้เราเคยนำเสนอบทความวิธีการทรานสโพส (หมุน) ข้อมูลจากแถวเป็นคอลัมน์ ด้วยการใช้ฟังก์ชัน SUM และ DECODE กันมาแล้ววันนี้ลองมาใช้อีกวิธีในการแสดงผลดังกล่าวด้วย PIVOT ก่อนอื่นมาดูในส่วน syntax ของ PIVOT กันก่อน PIVOT Syntax SELECT * FROM ( SELECT column1, column2 FROM tables WHERE conditions ) PIVOT ( aggregate_function(column2) FOR column2 IN ( expr1, expr2, … expr_n) | subquery ) ORDER BY expression [ ASC | DESC ]; โดยที่ aggregate_function คือ aggregate function เช่น SUM, COUNT, MIN, MAX,…
วันนี้เราจะนำเสนอวิธีการทรานสโพส (หมุน) ข้อมูลจากแถวเป็นคอลัมน์ โดยการประยุกต์ใช้ฟังก์ชัน SUM และ ฟังก์ชัน DECODE ก่อนอื่นจะขออธิบายในส่วนของฟังก์ชัน SUM และ DECODE กันก่อน ฟังก์ชัน SUM SUMจัดเป็นฟังก์ชันประเภท Aggregate Function ทำหน้าที่ในการคำนวณผลรวมของค่าในคอลัมภ์ มีรูปแบบการใช้งานดังตัวอย่างข้างล่างนี้ SELECT SUM(aggregate_expression) FROM tables [WHERE conditions]; โดยที่ aggregate_expression คือ คอลัมภ์ที่ต้องการค่าผลรวม โดยที่ข้อมูลในคอลัมภ์จะต้องเป็นชนิดตัวเลขเท่านั้น มาดูตัวอย่างการใช้งานกัน SELECT fac_id, SUM (eng_score) sum_eng_score FROM test_new_student GROUP BY fac_id; ผลลัพธ์ที่ได้ : แสดงผลรวมของคะแนนภาษาอังกฤษของแต่ละคณะ ฟังก์ชัน DECODE DECODE เป็นการเขียนเงื่อนไขบนชุดคำสั่ง select โดยมีลักษณะการทำงานเหมือน IF-THEN-ELSE โดยถ้าเข้าเงื่อนไขที่กำหนด ต้องการให้ทำอะไรก็ให้ระบุลงไป Syntax: DECODE( expression…
worapot.k
สำหรับผู้ดูแลระบบที่เคยทำงานดูแลฐานข้อมูล Oracle คงเคยเจอกับปัญหาการเชื่อมต่อไปยังฐานข้อมูลไม่ได้ ซึ่งเมื่อไล่เรียงหาสาเหตุแล้ว ก็มีมากมายหลายสาเหตุด้วยกัน เช่น ปัญหาที่ตัวฐานข้อมูลเอง หรือ ปัญหาทางด้านระบบเครือข่าย ฯลฯ ซึ่งในบทความนี้จะเล่าถึงประสบการณ์ที่ได้พบเจอปัญหานี้เช่นกัน โดยสาเหตุนั้นเกี่ยวกับตัว Listener เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นช่วงที่พบปัญหา ได้รับแจ้งจากผู้ใช้ว่าไม่สามารถเข้าใช้งานระบบได้ ซึ่งเมื่อได้รับแจ้งจึงทำการตรวจสอบและพบว่าปัญหาเกิดจากการที่ระบบไม่สามารถเชื่อมต่อไปยังฐานข้อมูลที่พัฒนาด้วย Oracle ได้ โดยที่ระบบเครือข่ายยังใช้งานได้ปกติ ดังนั้นสิ่งที่ทำต่อมาคือการตรวจสอบเฉพาะฐานข้อมูลว่าเกิดปัญหาอะไรขึ้น โดยสิ่งที่ทำคือ ทดลองเชื่อมต่อผ่าน SQL Developer ซึ่งเป็นเครื่องมือหนึ่งที่ใช้สำหรับบริหารจัดการฐานข้อมูล Oracle ผลลัพธ์คือ ไม่สามารถเชื่อมต่อได้ โดยมีข้อความแจ้งเตือนว่า socket timeout ทดลองเชื่อมต่อผ่าน Enterprise Manager ซึ่งเป็นเครื่องมือสำหรับบริหารจัดการฐานข้อมูลอีกตัวซึ่งได้ติดตั้งมาพร้อมกับตอนที่สร้างฐานข้อมูล ซึ่งก็ไม่สามารถเชื่อมต่อได้เช่นกัน และได้ลองสั่ง Startup DB ฐานข้อมูล จากเครื่องมือตัวนี้ อาการผิดปกติก็ยังคงเหมือนเดิม ทดลองเชื่อมต่อผ่าน ผ่าน SQL Plus ซึ่งใช้งานผ่าน command prompt ปราฏว่าสามารถเชื่อมต่อได้ ใช้คำสั่ง expdp เพื่อ dump ข้อมูลมาสำรองไว้ก่อน …