kanakorn.h
Disclaimer: คำเตือน บทความนี้ ผู้เขียนมีจุดประสงค์ “แค่” นำเสนอ วิธีการแก้ปัญหาเมื่อจ่ายค่าน้ำประปา ผ่านทาง Mobile Application ไม่ได้เท่านั้น ปัญหา: ทุก ๆ เดือน เจ้าหน้าที่การประปาจะมาจดมาตรวัตน้ำ และปริ้นท์ใบเสร็จมาใส่กล่องจดหมายหน้าบ้าน และก็สามารถจ่ายผ่าน True Money Wallet ได้ทุกครั้ง … แต่มาครั้งนี้ จ่ายไม่ได้ จากภาพ จะเห็นว่า ใบเสร็จประกอบด้วยข้อมูลต่าง ๆ แต่ที่น่าสนใจ ได้แก่– เลขที่ใบแจ้งค่าน้ำ: 1227620229846– เลขที่ผู้ใช้น้ำ: 1227052xxxx– หน่วยงาน: 1227-21– วันที่อ่าน: 09/06/62– รวมเงินที่ต้องชำระทั้งสิ้น: 353.10 คราวนี้ … ใบแจ้งนี้ จะมี QR Code และ Barcode ซึ่ง ทดลองใช้ Google Lens อ่านพบว่า ได้ค่าออกมาเป็น…
>> Read More <<
wunwisa.c
Popular layout panels of WPF 1. StackPanel StackPanel ของ WPF เป็น panel ที่เรียบง่ายและมีประโยชน์ในการนำมาใช้งาน โดยรูปแบบการจัดวางของ element ที่เป็น child จะวางอยู่ในรูปแบบซ้อนจากบนลงล่างหรือเรียงไปทางด้านซ้ายไปขวา ขึ้นกับการกำหนดค่าของ orientation StackPanel เหมาะสำหรับการจัดวางในรูปแบบที่มีลักษณะเป็น List โดย ItemsControls ของ WPF ทั้งหมด ที่เป็นลักษณะของ ComboBox, ListBox หรือ Menu จะใช้ StackPanel เพื่อจัดรูปแบบภายในของ Control ตัวมันเอง ดังตัวอย่าง Stack Items horizontally จากภาพตัวอย่างจะแสดงในส่วนของการใช้ horizontal stack panel คือจะประกอบด้วย ปุ่ม “OK” และ ปุ่ม “Cancel” ใน window โดยเมื่อมีการเปลี่ยนขนาดของตัวอักษรหรือเปลี่ยนภาษา…
Introduction to WPF Layout การอออกแบบ controls คือส่วนสำคัญของการออกแบบโปรแกรมที่นำมาใช้งาน การจัดวาง controls ที่มีการกำหนดค่าขนาดของ pixel ของ controls นั้นๆ อาจจะใช้งานได้ดีในกรณีสภาพแวดล้อมที่ถูกจำกัด แต่ในขณะเดียวกันจะได้ผลลัพธ์ที่ไม่พึงประสงค์นักหากไปแสดงบนหน้าจอที่มีความละเอียดของหน้าจอหรือขนาดของตัวอักษรที่ต่างกันออกไป WPF จึงมีการนำ panel มาแก้ไขปัญหาในส่วนนี้ โดย panel ที่ใช้ในการจัดวาง Layout มีอยู่ 5 ชนิดที่นิยมใช้การการออกแบบดังนี้ Grid Panel Stack Panel Dock Panel Wrap Panel Canvas Panel Best Practices หลีกเลี่ยงการกำหนดค่าตำแหน่ง : กรณีที่ต้องการกำหนดตำแหน่งการวาง controls ใน panel ควรใช้ Alignment properties ร่วมกับ Margin เพื่อกำหนดค่าตำแหน่งใน panel แทนการกำหนดเป็นค่าคงที่ในตำแหน่งนั้นๆ หลีกเลี่ยงการกำหนดขนาด :…
sirirat.g
จากบทความ การบริหารโครงการโดยใช้เครื่องมือ Team Foundation Server (Phase 4 : การวางแผนงาน) เป็นบทบาทของ Project manager ในการมอบหมายงานให้กับสมาชิกในทีม สำหรับในบทความนี้ จะกล่าวถึงในมุมมองของสมาชิกทีมที่ได้รับมอบหมายงานบ้าง ว่าจะสามารถเข้าไปดูงานที่ได้รับมอบหมายได้อย่างไรได้บ้าง เรามาดูกันเลยนะค่ะ… สำหรับสมาชิกในทีม สามารถตรวจสอบงานที่ได้รับมอบหมาย ได้ในมุมมองดังนี้ Step 1 จาก TFS เลือกโครงการที่ต้องการตรวจสอบงานที่ได้รับอบหมาย ตามรูปที่ 1 Step 2 เลือก Work จากนั้นเลือก Blacklogs และเลือก Sprint ที่ต้องการ ดังรูปที่ 2 Step 3 ทำการเลือกชื่อของตนเอง ดังรูปที่ 3 Step 4 จะแสดง Tasks ที่ได้รับมอบหมาย ตามรูปที่ 4 นะค่ะ จากขั้นตอนข้างต้น ทำให้เจ้าตัวทราบว่า มี Tasks…
suriporn.a
การพัฒนา Mobile Application ปัจจุบันมีหลากหลาย solution ให้เลือกใช้ ไม่ว่าจะเป็นการพัฒนาแบบ native แยกตามแต่ละแพลตฟอร์ม , พัฒนาแบบ hybrid และแบบ cross platform นอกจากจะมีรูปแบบการพัฒนาให้พิจารณาเลือกแล้ว ยังมี Mobile framework ที่หลากหลายที่เรานำมาใช้ในการพัฒนา app ไม่ว่าจะเป็น React Native, Ionic, Fluter,Android Studio, Xcode, Xamarin เป็นต้น โดยบทความนี้ผู้เขียนจะมาแนะนำ Xamarin.Forms ซึ่งเป็น framework หนึ่งที่นิยมใช้ในการพัฒนา mobile app กัน พร้อมทั้งแนะนำวิธีติดตั้งเครื่องมือเพื่อใช้งาน Xamarin คืออะไร? Xamarin คือ framework หนึ่งในการพัฒนา mobile app แบบ cross platform ของค่าย Microsoft ที่สามารถเขียน code ด้วยภาษา…
naparat.h
บทความนี้ ไม่ได้เกี่ยวข้องกับ 7 สิ่งมหัศจรรย์ของโลกนะคะ (ก็แหงอ่าาจิ) แต่ผู้เขียนจะนำเสนอ 7 ข้อมูลที่ผู้ทดสอบต้องทราบก่อนเริ่มการทดสอบซอฟต์แวร์ (นอกเหนือจากความรู้เกี่ยวกับ Software Testing ที่ทุกท่านต้องทราบกันดีอยู่แล้ว) ซึ่งได้รวบรวมมาจากประสบการณ์ของผู้เขียนเองเผื่อจะเป็นประโยชน์สำหรับผู้ทดสอบท่านอื่น ๆ ค่ะ ตามตารางข้างล่างนี่เลยยยค่ะ ตารางข้างต้นนั้น หวังว่าคงจะเป็นข้อมูลที่ช่วยให้ผู้ทดสอบในการเตรียมตัวทดสอบ ไม่มากก็น้อยนะคะ 🙂 ลองเอาไปปรับใช้กันดูนะคะ ยังมีข้อมูลอีกหลายส่วนเลยล่ะคะ ไปลองตั้งคำถามกับตัวเองก่อนเริ่มทดสอบดูนะคะ ว่าเราต้องทราบอะไรบ้างงงน๊าาาาา ที่จะเป็นประโยชน์ก่อนที่เราจะลงมือทดสอบซอฟต์แวร์กัน
จากตอนที่ 1 เราได้ทราบภาพรวมกิจกรรมและขั้นตอนต่างๆ ทั้งหมดในการทดสอบซอฟต์แวร์กันไปแล้ว ตอนที่ 2 ผู้เขียนจะลงลึกในรายละเอียดขั้นตอนที่ 1 ของการทดสอบซอฟต์แวร์กันค่ะ โดยขั้นตอนที่ 1 นั่นก็คือ 1. ผู้ทดสอบรับการถ่ายทอดการทำงานของซอฟต์แวร์ที่จะทดสอบจากนักพัฒนาโปรแกรม ขั้นตอนนี้เป็นการถ่ายทอดการทำงานของซอฟต์แวร์จากนักพัฒนาโปรแกรมให้กับผู้ทดสอบเพื่อให้ผู้ทดสอบทราบภาพรวม ขอบเขตและเข้าใจการทำงานทั้งหมดของซอฟต์แวร์ก่อนเริ่มการทดสอบ รวมถึงรวบรวม Task Test ทั้งหมดของซอฟต์แวร์ที่จะทดสอบค่ะ ผู้เขียนขอย่อยการดำเนินการในขั้นตอนที่ 1 เพื่อให้เข้าใจง่าย ๆ ตาม Flowchart นี้นะคะ อธิบายดังนี้ ค่ะ 1. เริ่มจากการนัดหมายเวลาในการถ่ายทอดการทำงานของวอฟต์แวร์กันก่อนค่ะ โดยนักพัฒนาโปรแกรมจะนัดวันเวลาที่จะถ่ายทอดการทำงานของซอฟต์แวร์ให้กับผู้ทดสอบกับผู้จัดการโครงการ ซึ่งจะต้องนัดล่วงหน้า ระยะเวลาเท่าไหร่นั้นก็ตามแล้วแต่เห็นสมควรและพิจารณากันเอาเองค่า อย่างทีมของผู้เขียน ก็จะนัดอย่างน้อย 1 สัปดาห์ก่อนเริ่มการทดสอบค่ะ (นัดทำไม นัดกันให้ชัดเจน จะได้เตรียมตัวเตรียมใจถูกเตรียมสมองให้โล่งงงงค่ะกันถ้วนหน้าค่ะ) 2. เมื่อได้วันเวลากันเรียบร้อยแล้ว ผู้จัดการโครงการก็แจ้งวันเวลาที่นักพัฒนาโปรแกรมจะถ่ายทอดการทำงานของซอฟต์แวร์ให้กับผู้ทดสอบรับทราบค่ะ (PM ซึ่งถือว่ามีอำนาจการจัดการบริหารในทีม ก็จะมาแจ้งให้ทราบบ อิอิ สบายใจกันทุกฝ่ายค่ะ) 3. เมื่อถึงวันเวลาตามที่ได้นัดหมายไว้ นักพัฒนาโปรแกรมก็จะมาถ่ายทอดการทำงานของซอฟต์แวร์ให้กับผู้ทดสอบค่ะ ในขั้นนี้โปรแกรมเมอร์ต้องถ่ายทอดการทำงานของซอฟต์แวร์ให้กับผู้ทดสอบอย่างละเอียด และจัดเตรียม Software…
บทความนี้จะขอแนะนำให้กับผู้ใช้งานโปรแกรม HelpNDoc ในการสร้างเอกสารกันอยู่ค่ะ ว่าเราสามารถกำหนดการแสดง table of contents ของเอกสารชนิด HTML ที่เราได้ generate ได้ว่าจะให้แสดงผลเริ่มต้นกับผู้อ่านเมื่อเปิดเอกสารอย่างไรค่ะ โดยสามารถกำหนดได้ว่าจะให้ table of contents ของเอกสารของเรานั้น ขยายไปที่ topic ของ contents ใน Level ใด —> วิธีการกำหนดการแสดงเริ่มแรกให้กับ table of contents ของเอกสารของเรานั่นง่ายมาก ๆ มาเริ่มกันเลยยย ในขั้นตอนการ Generate เอกสารให้เป็น Html เมื่อเรา Click Generate Document และเลือก ฺBuild เอกสารเป็น html นั้น จะพบลิงก์ Customize ให้คลิกลิงก์ดังกล่าว เพื่อเข้าไปกำหนดค่าต่างๆ ให้กับเอกสารของเรากันค่ะ เมื่อคลิก Customize ให้สังเกตในแท๊ป Template settings…
niti.c
“กรุงโรมไม่สร้างแค่วันเดียว” ฉันใดฉันนั้นเพื่อให้เครือข่ายนักพัฒนาแอพพลิเคชั่น (เหล่าโปรแกรมเมอร์) ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เกิดการร่วมกลุ่มกันอย่างเป็นรูปธรรมกันมากขึ้น จึงมีแนวคิดจะสร้างเว็บไซต์ลักษณะที่เป็นฐานข้อมูลรวบรวมรายชื่อสเหมือนสมุดหน้าเหลือง (เด็กสมัยใหม่อาจจะงง!) www.psudev.info เพื่อเป็นข้อมูลไว้ติดต่อกันสามารถค้นหาได้สะดวก คอนเซปคือต้องพัฒนาได้ง่ายและรวดเร็ว เป็น https ไม่ต้องเสียค่า cert สามารถออนไลน์ได้ทั่วโลก ไม่มีวันล่ม ไม่ต้องดูแลอินฟา และไม่รอช้าานั่นเริ่มกันเลยครับ…