Oracle Database 12CR1 monitoring with MRTG

OS: Oracle Enterprise Linux  7.2  (CentOS 7.2) วิธีติดตั้ง MRTG สามารถติดตั้งได้โดยสามารถดูคู่มือที่ ติดตั้ง mrtg บน ubuntu อาจไม่เหมือนกันแต่สามารถทำได้ทำนองเดียวกัน กราฟสำหรับ Idle CPU and Load average, CPU Time spent waiting for IO, Traffic Analysis for eth0, TCP Current Establish สามารถใช้ script เดียวกับลิงค์ในข้อ ๒ ได้เลย สร้างแฟ้ม /etc/mrtg/get-memory.sh มีข้อความว่า #!/bin/bash FREE=$(free |grep “Mem:”|awk ‘{print $7}’) SWAP=$(free |grep “Swap:”|awk ‘{print $3}’) TIME=$(uptime) echo … Read more

ฟังก์ชัน WMSYS.WM_CONCAT และการเปลี่ยนแปลงเมื่ออัพเกรดไปใช้ Oracle 12c

ฟังก์ชัน WMSYS.WM_CONCAT นักพัฒนาบางท่านที่พัฒนาระบบบนฐานข้อมูล Oracle 10g หรือ 11g อาจจะผ่านตาหรือเคยใช้งานฟังก์ชัน  WMSYS.WM_CONCAT โดยฟังก์ชันนี้เป็นฟังก์ชันที่ใช้ในการนำข้อมูลในฟีลด์เดียวกัน แต่อยู่ต่างเร็คคอร์ดมาเชื่อมต่อกันเป็นข้อมูลเร็คคอร์ดเดียว ในที่นี้จะยกตัวอย่างจากตารางข้อมูลทดสอบ ชื่อว่าตาราง STATIONERY ซึ่งเก็บข้อมูลเครื่องเขียน โดยแยกเป็นสี และระบุจำนวนของเครื่องเขียนแต่และชนิดไว้ ดังนี้   ทดลองใช้คำสั่ง SELECT แบบปกติ ด้วยคำสั่ง SELECT WMSYS.WM_CONCAT(COLOR) COLOR_LIST FROM STATIONERY; ผลลัพธ์ที่ได้   แต่ในเง่การใช้งานส่วนใหญ่ มักจะต้องการแสดงข้อมูลสรุปเป็นกลุ่ม เช่น จากตัวอย่างนี้ ถ้าต้องการแยกข้อมูลสรุปเป็นกลุ่มตามชนิดเครื่องเขียน ว่าเครื่องเขียนแต่ละชนิดมีสีอะไรบ้าง ซึ่งก็สามารถทำได้โดยการเพิ่มการ GROUP BY ตามฟีลด์ STATIONERY เข้าไป ดังนี้ SELECT STATIONERY, WMSYS.WM_CONCAT(COLOR) COLOR_LIST FROM STATIONERY GROUP BY STATIONERY; ผลลัพธ์ที่ได้   หรือหากต้องการข้อมูลสรุปตามสีของเครื่องเขียน ว่าแต่ละสีมีเครื่องเขียนชนิดใดอยู่บ้าง คำสั่งที่ใช้งานก็จะเป็น SELECT … Read more

ข้อจำกัดและข้อควรระวังในการใช้เงื่อนไข IN ในคำสั่ง SELECT บนฐานข้อมูล Oracle

สำหรับบทความนี้ จะนำเสนอข้อจำกัดและข้อควรระวังในการใช้งานคำสั่ง SELECT บนฐานข้อมูล Oracle ซึ่งประสบมาจากการใช้งานจริงสองเรื่องด้วยกัน   เรื่องแรกจะเป็นข้อจำกัดในการใช้เงื่อนไข IN (value1,value2,value3,…) ในคำสั่ง SELECT  ส่วนอีกเรื่องจะเป็นเรื่องของข้อควรระวังในการใช้ IN ร่วมกับเงื่อนไขที่เป็น subquery ในคำสั่ง SELECT  เช่นกัน   การใช้คำสั่ง SELECT และเงื่อนไข IN นั้น เป็นรูปแบบคำสั่งพื้นฐานแบบหนึ่งที่นักพัฒนาที่ทำงานคลุกคลีกับฐานข้อมูลส่วนใหญ่จะคุ้นเคยกันเป็นอย่างดี  โดยรูปแบบที่เรามักจะใช้งานกันบ่อย คือ รูปแบบที่ 1 รูปแบบ SELECT * FROM TABLE1 WHERE FIELD1 IN  (value1,value2,value3,…)  โดยผลลัพธ์จะเป็นรายการข้อมูลในตาราง TABLE1 ที่ค่าของข้อมูลใน FIELD1 มีอยู่ใน value1,value2,value3 ,… รูปแบบที่ 2 คล้ายกับรูปแบบที่ 1  นั่นเอง แต่จะเป็นการใช้ subquery แทนที่ (value1,value2,value3,…)  … Read more