Install from scratch – licensing (1)
ติดตั้งปรับแต่ง Ubuntu 22.04 เพื่อเตรียมสำหรับติดตั้ง WordPress บน apache2 และติดตั้ง WordPress Host setting
แหล่งรวมบทความเกี่ยวกับ IT โดยชาว PSU IT
ติดตั้งปรับแต่ง Ubuntu 22.04 เพื่อเตรียมสำหรับติดตั้ง WordPress บน apache2 และติดตั้ง WordPress Host setting
เครื่องมือตรวจสอบช่องโหว่สำหรับอูบุนตู เมื่อได้รับทราบข้อมูลช่องโหว่ของลีนุกซ์อูบุนตูที่ดูแลอยู่จากเว็บไซต์ให้บริการตรวจสอบช่องโหว่ในระบบได้ฟรีๆ ไม่มีค่าใช้จ่าย เช่น https://www.shodan.io/ ซึ่งบริการฟรี สถานะ Last Seen แสดงวันที่ Shodan แวะเวียนมาตรวจสอบให้ล่าสุดจึงเกิดคำถามว่า ถ้าเราได้อัพเดตส่วนประกอบพื้นฐานต่างๆ ที่ Ubuntu มีมาให้ด้วยคำสั่งsudo apt updatesudo apt dist-upgradeแล้วจะรู้ได้อย่างไรว่า ช่องโหว่ต่างๆ ได้ถูกปิดให้ปลอดภัยขึ้นแล้วตามคำแนะนำของ Ubuntu ที่มีประกาศข่าวเรื่องความปลอดภัยเกี่ยวกับอูบุนตูไว้ที่ https://ubuntu.com/security/notices อูบุนตูมี Ubuntu OVAL (Open Vulnerability and Assessment Language) ไว้ให้ใช้ตรวจสอบช่องโหว่ ซึ่งใช้โปรแกรมชื่อ OpenSCAP เพื่อทำรายงานช่องโหว่ให้ดูได้เอง ตามขั้นตอนต่อไปนี้ ตัวอย่างการใช้งานจริงกับเครื่องบริการทดสอบความเร็วอินเทอร์เน็ต Ookla Server ซึ่งใช้เป็นตัวอย่างแสดง
เป็นขั้นตอนที่ทำขึ้น เพื่อทำการ redirect port 80 เข้าไปยัง web server ใน VM (OpenNebula miniONE on KVM) ที่เราติดตั้งไว้ในเครื่อง Ubuntu Desktop ในตัวอย่างนี้ Ubuntu Desktop มี IP 192.168.1.70 และ VM มี IP 172.16.100.3 ขั้นตอน เปิด Terminal และติดตั้ง haproxy ด้วยคำสั่ง sudo apt install haproxy เข้าทำงานสิทธิ root ด้วยคำสั่ง sudo su –และไปในไดเรกทอรี cd /etc/haproxyเก็บสำรองไฟล์ config ไว้ก่อน ด้วย cp haproxy.cfg haproxy.cfg.origเข้าไปแก้ไขไฟล์ vi haproxy.cfg เพิ่มบรรทัดเหล่านี้ … Read more
เป็นขั้นตอนติดตั้ง one-context ต่อจากตอนที่แล้ว ขั้นตอน คำสั่ง sudo su – และ คำสั่ง wget https://github.com/OpenNebula/addon-context-linux/releases/download/v5.12.0.2/one-context_5.12.0.2-1.deb ลบ cloud-init ด้วยคำสั่ง apt-get purge -y cloud-initติดตั้งด้วยคำสั่ง dpkg -i one-context_*deb || apt-get install -fy เมื่อเสร็จ ให้ออกจาก web console และ คลิก Power off hard เอา CD-ROM ออก เมื่อถึงตรงนี้ VM นี้ก็พร้อมใช้เป็นต้นแบบในครั้งต่อไปได้ เราจึง Save as Template สมมติให้ชื่อว่า ubuntu-server-20.04 ปรับแต่ VM Template เพื่อเติมสิ่งที่เกี่ยวกับ Context โดยคลิกปุ่ม Update คลิกที่ … Read more
หลังจากติดตั้ง server เสร็จแล้ว ตอนนี้ เรามาลองสร้าง VM กันสัก 1 ตัว หลักการคือ สร้าง image ที่เป็น disk เปล่า ๆ จากนั้นสร้าง VM Template ให้มาใช้ image นี้ และกำหนดค่า VM Template ให้เสร็จ แล้วสร้าง VM จาก VM Template นั้น ขั้นตอน สร้าง Image เปล่า สมมติตั้งชื่อว่า DISK8GB กำหนด Type คือ Generic storage datablock และเป็นแบบ Empty disk image กำหนดขนาด 8 GB สร้าง Image ที่เป็น CD-ROM … Read more