• รวมวิธีการเปิดใช้งาน IPv6


    “บทความนี้เป็นบทความเกี่ยวกับวิธีการเปิดใช้งาน  IPv6 สำหรับบริการที่เป็น Web Server รวมถึงวิธีการตรวจสอบ Client และ Server ว่าพร้อมหรือยังที่จะใช้งาน  IPv6” Blog 1 : การตรวจสอบสถานะการใช้งาน IPv6 สำหรับ Client และ Server Blog 2 : การตั้งค่า Interface สำหรับ Windows Server Blog 3 : การตั้งค่า Interface สำหรับ Ubuntu Linux Blog 4 : การตั้งค่า Interface สำหรับ CentOS/Redhat Linux Blog 5 : การตั้งค่า Apache Web Server สำหรับ Ubuntu Linux Blog 6…

    >> Read More <<

  • การตรวจสอบสถานะการใช้งาน IPv6 สำหรับ Client และ Server


    “เราจะตรวจสอบได้อย่างไรว่าเครื่องสามารถใช้งาน IPv6 ได้แล้ว และเราจะรู้ได้อย่างไรว่า Server ก็ให้บริการ IPv6” วิธีการตรวจสอบ Client สำหรับวิธีตรวจสอบ Client ให้เข้า Web Site http://ipv6-test.com จากนั้นสังเกตุดังรูป Native IPv6 หมายความว่าสามารถสื่อสารจากต้นทาง กลางทาง ปลายทางด้วย IPv6 ทั้งหมด โดยไม่ต้องผ่าน IPv4 เลย (ต้นทาง ปลายทางไม่จำเป็นต้องมี IPv4 เลยก็ได้) Fallback คือการที่ Web Browser ที่ใช้อยู่สามารถกลับมาใช้ IPv4 ในการเชื่อมต่อได้ในกรณีที่ Web ปลายทางไม่มี IPv6 ค่าดังกล่าวเป็นการบอกว่าสามารถเชื่อมต่อ DNS ด้วย IPv4 หรือ IPv6 และสามารถ resolve IPv4 หรือ IPv6 ได้ วิธีการตรวจสอบ Server สำหรับการตรวจสอบ Server ให้เข้า http://ipv6-test.com/validate.php จะได้ดังรูป…

    >> Read More <<

  • วิธีการปิดช่องโหว่ Logjam,Freak,Poodle,Beast สำหรับ Lighttpd Web Server (Ubuntu 14.04 LTS)


    “จะทำอย่างไรทีดีกับช่องโหว่ SSL เยอะซะเหลือเกิน ปิดใช้แต่ TLS ก็ได้นิ นั่นสินะ” อย่างที่ข้างบนกล่าวไว้ครับวิธีการปิดช่องโหว่นี้ทำง่าย ๆ แค่ปิด SSLv2 SSLv3 และปิด Cipher Suite ที่ไม่ปลอดภัยเพิ่มเติม ก่อนที่จะทำการปิดช่องโหว่ลองทดสอบ test ความปลอดภัย ที่ website https://ssltest.psu.ac.th/server ก็จะได้ดังรูปตัวอย่างนี้ (จะเห็นได้ว่ามีช่องโหว่หลายตัว) วิธีการปิด SSL ทำได้โดยแก้ไขไฟล์ /etc/lighttpd/conf-enabled/10-ssl.conf ดังนี้ sudo vim /etc/lighttpd/conf-enabled/10-ssl.conf ทำการแก้ไขไฟล์โดยทำการเพิ่มท้าย ๆ ไฟล์ ก่อนปิดวงเล็บดังนี้ (อย่าลืม comment cipher-list เดิมทิ้งก่อนนะครับ) ssl.use-compression = “disable” ssl.use-sslv2 = “disable” ssl.use-sslv3 = “disable” ssl.cipher-list = “EECDH+AESGCM:EDH+AESGCM:AES128+EECDH:AES128+EDH” จากนั้นทำการ Restart Lighttpd Server…

    >> Read More <<

  • วิธีการปิดช่องโหว่ Logjam,Freak,Poodle,Beast สำหรับ Apache Web Server (Ubuntu 14.04 LTS)


    “จะทำอย่างไรทีดีกับช่องโหว่ SSL เยอะซะเหลือเกิน ปิดใช้แต่ TLS ก็ได้นิ นั่นสินะ” อย่างที่ข้างบนกล่าวไว้ครับวิธีการปิดช่องโหว่นี้ทำง่าย ๆ แค่ปิด SSLv2 SSLv3 และปิด Cipher Suite ที่ไม่ปลอดภัยเพิ่มเติม ก่อนที่จะทำการปิดช่องโหว่ลองทดสอบ test ความปลอดภัย ที่ website https://ssltest.psu.ac.th/server ก็จะได้ดังรูปตัวอย่างนี้ (จะเห็นได้ว่ามีช่องโหว่หลายตัว) วิธีการปิด SSL ทำได้โดยแก้ไขไฟล์  /etc/apache2/mods-enabled/ssl.conf ดังนี้ sudo vim /etc/apache2/mods-enabled/ssl.conf ทำการแก้ไขไฟล์ดังนี้ (จะ Comment SSLCipherSuite กับ SSLProtocol แล้วเพิ่มตรงท้าย ๆ ก่อน tag ปิด </IfModule> ก็ได้ครับ) SSLCipherSuite ECDH+AESGCM:DH+AESGCM:ECDH+AES256:DH+AES256:ECDH+AES128:DH+AES:RSA+AESGCM:RSA+AES:!aNULL:!MD5:!DSS SSLHonorCipherOrder on SSLProtocol all -SSLv3 -SSLv2 SSLCompression off…

    >> Read More <<

  • วิธีการปิดช่องโหว่ Logjam,Freak,Poodle,Beast สำหรับ Windows Server 2008 / 2008 R2 / 2012 / 2012 R2


    “จะทำอย่างไรทีดีกับช่องโหว่ SSL เยอะซะเหลือเกิน ปิดใช้แต่ TLS ก็ได้นิ นั่นสินะ” อย่างที่ข้างบนกล่าวไว้ครับวิธีการปิดช่องโหว่นี้ทำง่าย ๆ แค่ปิด SSLv2 SSLv3 และปิด Cipher Suite ที่ไม่ปลอดภัยเพิ่มเติม ก่อนที่จะทำการปิดช่องโหว่ลองทดสอบ test ความปลอดภัย ที่ website https://ssltest.psu.ac.th/server ก็จะได้ดังรูปตัวอย่างนี้ (จะเห็นได้ว่า Grade ร้ายแรงมาก) จากนั้นทำการโหลดโปรแกรมจาก web https://www.nartac.com ดังนี้ https://www.nartac.com/Downloads/IISCrypto/IISCrypto40.exe จากนั้นรันโปรแกรมดังรูป จากนั้นทำการ Reboot อีกครั้ง ทำการทดสอบ test ความปลอดภัย ที่ website https://ssltest.psu.ac.th/server อีกครั้งก็ได้ดังรูป เป็นอันว่าเรียบร้อยครับ สามารถอ่านวิธีแก้ไขช่องโหว่เพิ่มเติมได้ที่นี่ครับ http://sysadmin.psu.ac.th/2015/11/10/serversecuritypatch

    >> Read More <<

  • นโยบายและแนวปฏิบัติในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยด้านสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 23 มีนาคม 2561


    นโยบายและแนวปฏิบัติในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยด้านสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์  เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2561 สำนักงานคณะกรรมการธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ได้ผ่านความเห็นชอบการจัดทำแนวนโยบายและแนวปฏิบัติในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยด้านสารสนเทศของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ่านได้จากไฟล์ตามลิ้งค์นี้ https://www.cc.psu.ac.th/pdf/PSU_IT_Sec_Policy_23Mar2018.pdf ซึ่งฉบับแรกผ่านเมื่อวันที่ 27 เมษายน 2558 และล่าสุดทบทวนเมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2561 โดยมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์อยู่ในบันทึกลำดับที่ 99 จากทั้งหมด 154 หน่วยงาน ตามประกาศ http://www.etcommission.go.th/etc-annoucement-sp-p1.html เป็นมหาวิทยาลัยแรกที่มีการทบทวนนโยบายตั้งแต่มีการเริ่มประกาศใช้ ผู้ใช้ไอทีทุกระดับควรได้เปิดอ่าน ทำความเข้าใจ และนำไปปฏิบัติความปลอดภัยไอที ม.อ. ทุกคนมีส่วนร่วมกันดูแล ครับ 😀 ก้าวต่อไปเพื่อเพิ่มความปลอดภัยข้อมูลส่วนบุคคลที่อยู่บนระบบไอที ม.อ. จะได้จัดทำแนวนโยบายและแนวปฏิบัติในการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของหน่วยงานของรัฐซึ่งตามข้อมูลเมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2560 มีเพียง 14 หน่วยงานที่ผ่านความเห็นชอบแล้วตามประกาศ http://www.etcommission.go.th/etc-annoucement-dp.html และมุ่งไปสู่ความปลอดภัยไอทีของ ม.อ. ที่มีการดูแลอย่างใกล้ชิดตามแนวทาง Center for Internet Security : CIS Control v7 ซึ่งผมได้เริ่มต้นแปลบางส่วน ให้ผู้สนใจเริ่มทำความคุ้นเคยได้จาก…

    >> Read More <<

  • วิธีการปิดช่องโหว่ Logjam,Freak,Poodle,Beast สำหรับ Windows Server 2003 R2


    “จะทำอย่างไรทีดีกับช่องโหว่ SSL เยอะซะเหลือเกิน ปิดใช้แต่ TLS ก็ได้นิ นั่นสินะ” อย่างที่ข้างบนกล่าวไว้ครับวิธีการปิดช่องโหว่นี้ทำง่าย ๆ แค่ปิด SSLv2 SSLv3 และปิด Cipher Suite ที่ไม่ปลอดภัยเพิ่มเติม แต่สำหรับ Windows Server 2003 เนื่องจากไม่รองรับ Cipher Suite ที่ปลอดภัยบางตัว จึงต้องทำการรัน hotfix ก่อน โดยสามารถโหลดได้ที่นี่ (อย่าลืมเลือกให้ตรง platform x86 x64 นะครับ) https://support.microsoft.com/en-us/kb/948963 ก่อนจะรัน hotfix ลองทดสอบ test ความปลอดภัย ที่ website https://ssltest.psu.ac.th/server ก็จะได้ดังรูปตัวอย่างนี้ (จะเห็นได้ว่า Grade ร้ายแรงมาก) เมื่อโหลดไฟล์เรียบร้อยแล้วทำการแตก zip และ run ด้วยสิทธิ์ administrator ดังรูป หลังจากนั้นเลือก Finish…

    >> Read More <<

  • การแก้ไข Certificate สำหรับ Lighttpd Web Server (Ubuntu 14.04 LTS)


    “อยากแก้ Certificate บน Linux Lighttpd Server ทำอย่างไร” ในกรณีที่มีไฟล์ Certificate อยู่แล้วให้ทำการวางไฟล์ Certificate ใหม่ทับแล้วสั่ง Restart Apache Server เป็นอันเสร็จครับ (สำหรับการเปลี่ยน Certificate มีแค่ขั้นตอนนี้จบเลยครับ) ในกรณีที่ยังไม่ได้ติดตั้ง https รวมถึง Certificate ให้ทำการติดตั้ง https ก่อนดังนี้ sudo lighttpd-enable-mod ssl จากนั้นให้สั่ง Restart Apache ตามปกติ sudo service lighttpd restart ทำการวางไฟล์ Certificate ไว้ในตำแหน่งที่ Lighttpd สามารถเข้าถึงได้ ในกรณีที่ที่นี้ผมจะวางไว้ที่ /etc/cer ในกรณีที่ได้มาเป็นไฟล์ .cer และไฟล์ .key มาต้องการทำไฟล์ .pem สามารถพิมพ์คำสั่งดังนี้ sudo cat [file_cer_name].key [file_cer_name].crt > [file_cer_name].pem ทำการแก้ไขไฟล์…

    >> Read More <<

  • การแก้ไข Certificate สำหรับ Apache Web Server (Ubuntu 14.04 LTS)


    “อยากแก้ Certificate บน Linux Apache Server ทำอย่างไร” ในกรณีที่มีไฟล์ Certificate อยู่แล้วให้ทำการวางไฟล์ Certificate ใหม่ทับแล้วสั่ง Restart Apache Server เป็นอันเสร็จครับ (สำหรับการเปลี่ยน Certificate มีแค่ขั้นตอนนี้จบเลยครับ) ในกรณีที่ยังไม่ได้ติดตั้ง https รวมถึง Certificate ให้ทำการติดตั้ง https ก่อนดังนี้ sudo a2enmod ssl sudo a2ensite default-ssl จากนั้นให้สั่ง Restart Apache ตามปกติ sudo service apache2 restart ทำการวางไฟล์ Certificate ไว้ในตำแหน่งที่ Apache สามารถเข้าถึงได้ ในกรณีที่ที่นี้ผมจะวางไว้ที่ /etc/apache2/cer ทำการแก้ไขไฟล์ default-ssl.conf ดังนี้ sudo vim /etc/apache2/sites-enabled/default-ssl.conf โดยส่วนที่ทำการเปลี่ยนแปลงจะทำการเปลี่ยน 3 บรรทัดดังนี้ SSLCertificateFile…

    >> Read More <<