Cassandra #02 Scale-Out to Multi-nodes

ต่อจาก Cassandra #01 เริ่มต้นใช้งาน ความสามารถที่สำคัญของ Cassandra คือสามารถทำการ Scale Out หรือขยายความสามารถของระบบได้โดยการเพิ่มเครื่องคอมพิวเตอร์ในระดับ Commodity Hardware [1] เข้าไปใน Cluster ในบทความนี้ จะแสดงวิธีการสร้าง Cassandra Cluster ที่ประกอบไปด้วย 3 Node ชื่อ cassandra01, cassandra02 และ cassandra03 โดยมีชื่อ Cluster ว่า PSUCluster และกำหนดให้ cassandra01 เป็น Seed Node (ทำหน้าที่เป็นผู้ประสานงานสำหรับ Node ใหม่ๆเข้าร่วม Cluster) ขั้นตอนการขยายระบบแบบ Scale Out ไปยังหลายๆ Node แต่ละ Node ทำดังนี้ ติดตั้ง Cassandra ตามขั้นตอนใน Cassandra #01 เริ่มต้นใช้งาน แก้ไขไฟล์ /etc/cassandra/cassandra.yaml … Read more

Cassandra #01 เริ่มต้นใช้งาน

Cassandra เป็นระบบ Database ที่เหมาะสำหรับการ Scalability และให้ High Availability โดยไปลดประสิทธิภาพ มีความทนทานสูง (Fault Tolerance) โดยสามารถใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ทั่วไปๆ (Commodity Hardware) หรือ ใช้งาน Cloud Infrastructure สำหรับงานที่มีความสำคัญได้ (Mission Critical) สามารถกระจายสำเนา (Replication) ข้าม Data Center ได้อีกด้วย [1][3] ในบทความนี้ จะแสดงการติดตั้งบน Ubuntu 16.04 เพียงเครื่องเดียวก่อน และให้เห็นวิธีการติดต่อตัวฐานข้อมูล การส่ง Query เบื้องต้น # echo “deb http://www.apache.org/dist/cassandra/debian 310x main” | sudo tee -a /etc/apt/sources.list.d/cassandra.sources.list # curl https://www.apache.org/dist/cassandra/KEYS | sudo apt-key … Read more

Private Cloud with Juju and LXD Workshop

::Juju:: Juju #01 เริ่มต้นใช้งาน Juju Juju #02 วิธีติดตั้ง WordPress Juju #03 วิธีสร้าง Load Balance MySQL Juju #04 วิธีทำให้ WordPress กระจายงานไปยัง MySQL Slave ด้วย HyperDB Juju #05 วิธีกระจายงานไปยัง MySQL แบบ Master-Master Juju #06 เชื่อม MySQL Master-Master เข้ากับ HAProxy Juju #07 กระจายโหลดข้ามเครื่อง  

Juju #07 – กระจายโหลดข้ามเครื่อง

ที่ผ่านมา เป็นการติดตั้ง Juju ซึ่งเบื้องหลังคือ LXD Container แต่ทั้งหมดยังอยู่บนเครื่องเดียวกัน ภาพต่อไปนี้ เป็นการทดสอบความเร็วในการตอบสนองของ WordPress ซึ่งเป็น Post ที่มีภาพจำนวนมาก และมีขนาดในการ Download ทั้งหมด 5 MB ใช้เวลาประมาณ 1.24 วินาที เมื่อใช้ jMeter ระดมยิงด้วยความเร็ว 100 Connections ต่อ 1 วินาที ต่อเนื่อง 10 วินาที ได้ผลว่า เวลาเฉลี่ยคือ 2.478 วินาที ต่อมาลองเพิ่มจำนวน Container จาก 1 เครื่องไปเป็น 3 เครื่อง แต่ทำงานอยู่บน Physical Server เดียวกัน แล้วทดลองยิงแบบเดิม ได้ผลออกมาคือ ใช้เวลาเฉลี่ย 1.663 วินาที จากนั้น ทดสอบแยก Container … Read more

Removing duplicate records by using Oracle’s ROWID

ถ้าคุณมีตารางข้อมูลอยู่ และรู้ว่ามีบางแถวที่มีข้อมูลซ้ำซ้อนกัน ทางไหนเป็นวิธีที่ดีที่จะสามารถหาและกำจัดแถวที่มีข้อมูลซ้ำนี้ออกไปจากตารางของฐานข้อมูล Oracle ?   การหาแถวที่มีข้อมูลซ้ำซ้อน เราสามารถหาข้อมูลแถวที่มีข้อมูลซ้ำซ้อนกันได้โดยใช้คำสั่ง select ดังนี้   select a,b,count(*) from test group by a,b having count(*) > 1; ผลลัพธ์ที่ได้ : A          B   COUNT(*) ———- ———- ———- 1          2        259 2          2          5   จากตัวอย่างในตาราง test นี้เราจะกำหนดว่าให้ค่าในคอลัมภ์ a และ b จะต้องมีค่าไม่ซ้ำ ซึ่งผลลัพธ์ที่ปรากฏคือ มีข้อมูลซ้ำ 258 แถว และ 4 แถว   การกำจัดแถวที่มีข้อมูลซ้ำซ้อน เราสามารถกำจัดแถวที่มีข้อมูลซ้ำซ้อนกันได้โดยการใช้ rowid … Read more