Kaggle – วิธีการใช้ K-Means บนข้อมูล iris

ต่อจาก Kaggle – วิธีการใช้ Logistic Regression บนข้อมูล Iris ซึ่งเป็น Machine Learning แบบ Supervised Learning คราวนี้ ลองมาดูว่า ถ้า เราไม่รู้ว่า ข้อมูลแบบออกเป็นกี่กลุ่ม จะให้ Machine แบ่งกลุ่มได้อย่างไร หนึ่งในวิธีที่ได้รับความนิยมคือ K-Means Clustering มีคลิป ที่อยากให้ลองชม เพื่อความเข้าใจ StatQuest: K-Means Clustering เริ่มกันเลย 1. นำเข้าข้อมูล และ Package ที่ต้องการ import pandas as pd import numpy as np from sklearn.cluster import KMeans iris = pd.read_csv(‘../input/mydata2/4-iris.data’) data=iris.values X=data[:,[0,1]] Y = data[:,4] … Read more

Kaggle – วิธีการใช้ Logistic Regression บนข้อมูล Iris

ข้อมูล Iris Dataset มักจะใช้ในการเริ่มต้นศึกษาการใช้งาน เครื่องมือทาง Data Science โดยเฉพาะ Classification เพราะไม่ซับซ้อน มี 4 ฟิลด์ ที่ใช้เป็น Features และมี 1 ฟิลด์ ที่จะเป็น Class (มี 3 Categories) เริ่มจาก New Kernel ในที่นี้ เลือก Notebook จากนั้น เลือก Add Dataset จากที่เค้ามีให้ หรือ จะ Upload ขึ้นไปก็ได้ จากนั้น ข้อมูลของเราจะมาอยู่ที่  ../input/ ในกรณีเรามีไฟล์ ../input/iris.data จาก Code ที่ให้มาในเบื้องต้น ให้กดปุ่ม Shift+Enter หรือ กดเครื่องหมาย Run ด้าน ซ้ายมือ ก็จะได้ผลดังนี้ จากนั้น … Read more

Machine Learning #01 – Python with iris dataset

ในบทความนี้ จะแนะนำวิธีการสร้างกระบวนการ Machine Learning ด้วย Python โดยใช้ iris dataset ตั้งแต่การโหลดข้อมูล, สร้าง  Model,  Cross Validation, วัด Accuracy และการนำ Model ไปใช้งาน เพื่อความสะดวกในการเรียนรู้ เราจะเลือกใช้ Anaconda ซึ่งเป็น Python Data Science Platform ซึ่งจะรวบรวมเครื่องมือ และ Library ที่จำเป็นต่อการพัฒนา โดยสามารถเลือก Download รุ่นที่เหมาะกับระบบปฏบัติการของท่านได้ที่ https://www.anaconda.com/download/ สามารถ Clone Repository ตัวอย่างทั้งหมดที่กล่าวถึงในบทความนี้ได้จาก https://github.com/nagarindkx/pythonml และ แนะนำให้ใช้งาน jupyter-notebook เพื่อสะดวกในการเรียนรู้ บทความนี้ใช้ Notebook: 01 – SVM with iris dataset.ipynb   เริ่มจาก import dataset “iris” จาก … Read more