Author: grianggrai.n

  • Bash Bash Bash เต็มไปหมด…

    ไมโครซอฟท์ปล่อยอัพเดต Windows 10 Anniversary Update แล้ว ถึงเวลาลอง bash shell บนวินโดวส์แล้วสิ…

    • ติดตั้ง Windows 10 Anniversary ทำได้สองทาง
      • หากใช้ Windows 10 อยู่แล้วก็ Windows update ได้เลย (รุ่น Professional อาจยังไม่มีให้ update)
      • ต้องการติดตั้ง Windows 10 ใหม่ โหลดที่ https://licensing.psu.ac.th/tag/anniversary/ เลือกเอาเลยจะเอารุ่น Professional หรือ Education (สำหรับนักศึกษาต้องเป็นรุ่น Education)
      • ติดตั้งไปจนเสร็จเรียบร้อย
    • ต้องเชื่อมต่อ Internet ตลอดเวลาที่ติดตั้ง!!
    • คลิกขวาที่ปุ่ม start เลือก Programs and Features
      Programs and Features
    • คลิก Turn Windows Features on or off
      Turn Windows Features on or off
    • เลือก Windows Subsystem for Linux (Beta)
    • เมื่อติดตั้งเสร็จแล้ว ให้เปิด developer mode คลิกที่ start menu แล้วพิมพ์ deve จะได้ดังรูป แล้วเลือก for developers settings
      Start menu
    • ได้ดังภาพเลือก Developer mode
      developer mode
      คลิก Yes
      Developer Mode
    • อาจมีข้อความเตือนให้ restart ก็ restart ให้เรียบร้อย
    • คลิกขวาที่ปุ่ม Start เลือก Command Prompt (Admin)
      CMD
    • พิมพ์ bash
      bash
    • กด y แล้วกด enter
      Download
    • จะเป็นการเริ่ม download รอจนครบ 100%
      Download
    • ตั้ง username และ password
      create user
    • เมื่อตั้งเสร็จเรียบร้อยก็พร้อมใช้งาน
      ready
    • ทุกครั้งที่ต้องการใช้งานให้เรียก bash ได้ที่ปุ่ม start แล้วเลือก Bash on Ubuntu on Windows
      bash on start
    • ทดสอบ ssh
      ssh
    • จบ… ขอให้สนุกครับ
  • Oracle Database 12CR1 monitoring with MRTG

    • OS: Oracle Enterprise Linux  7.2  (CentOS 7.2)
    • วิธีติดตั้ง MRTG สามารถติดตั้งได้โดยสามารถดูคู่มือที่ ติดตั้ง mrtg บน ubuntu อาจไม่เหมือนกันแต่สามารถทำได้ทำนองเดียวกัน
    • กราฟสำหรับ Idle CPU and Load average, CPU Time spent waiting for IO, Traffic Analysis for eth0, TCP Current Establish สามารถใช้ script เดียวกับลิงค์ในข้อ ๒ ได้เลย
    • สร้างแฟ้ม /etc/mrtg/get-memory.sh มีข้อความว่า
      #!/bin/bash
      FREE=$(free |grep "Mem:"|awk '{print $7}')
      SWAP=$(free |grep "Swap:"|awk '{print $3}')
      TIME=$(uptime)
      echo "${FREE}"
      echo "${SWAP}"
      echo "$TIME"
      hostname 

      สร้างแฟ้ม /etc/mrtg/myhost-memory.cfg มีข้อความว่า
      WorkDir: /var/www/mrtg/myhost
      Target[myhost-mem]:`/etc/mrtg/get-memory.sh`
      MaxBytes[myhost-mem]: 20000000000
      Title[myhost-mem]: Free Memory and Swap Used
      PageTop[myhost-mem]: <H1>Free Memory and Swap Used</H1>
      ShortLegend[myhost-mem]: bytes
      YLegend[myhost-mem]: bytes
      LegendI[myhost-mem]:  Free Memory:
      LegendO[myhost-mem]: Swap Used:
      Legend1[myhost-mem]: Free memory, in bytes
      Legend2[myhost-mem]: Swap Used, in bytes
      Options[myhost-mem]: gauge, nopercent, growrightทดสอบสร้างภาพต้นแบบด้วยคำสั่ง

      env LANG=C /usr/bin/mrtg/myhost-memory.cfgปรับปรุงแฟ้ม index.html ด้วยคำสั่ง
      indexmaker --column=2 --output=/var/www/mrtg/myhost/index.html /etc/mrtg/myhost-cpu.cfg /etc/mrtg/myhost-cpu-io.cfg /etc/mrtg/myhost-speed-eth0.cfg /etc/mrtg/myhost-tcpestab.cfg /etc/mrtg/myhost-memory.cfg

    • โฟลเดอร์ที่ต้องเฝ้าระวังได้แก่ /u02/app/oracle/adump, /u02/app/oracle/diag/rdbms/regist/regist/alert, /u02/app/oracle/rdbms_trace ซึ่งเป็นโฟลเดอร์สำหรับเก็บ Log ไฟล์ต่างๆ ซึ่งอาจมีขนาดเพิ่มขึ้นจนระบบไม่สามารถให้บริการได้ และโฟลเดอร์ /u03 เป็นโฟลเดอร์ที่ใช้เก็บ archive log (ในกรณีที่ฐานข้อมูลเปิด archive log mode)
      • สร้างแฟ้ม /etc/mrtg/get-diskfree-misc1.sh มีข้อความว่า
        #!/bin/bash
        adump=$(du -sm /u02/app/oracle/adump|awk '{ print $1 }')
        free=$(df -m /u02|grep u02|awk '{ print $4 }')
        TEMP=$(uptime|grep -o "load average.*"|awk '{print $3}'|cut -d',' -f 1)
        LOAD=$(echo "${TEMP:-0} * 100"|bc|cut -d'.' -f 1)
        TIME=$(uptime)
        echo "${adump}"
        echo "${free}"
        echo "$TIME"
        hostname
      • สร้างแฟ้ม /etc/mrtg/myhost-diskfree-misc1.cfg มีข้อความว่า
        WorkDir: /var/www/mrtg/myhost
        Target[myhost-misc1]:`/etc/mrtg/get-diskfree-misc1.sh`
        MaxBytes[myhost-misc1]: 20000000000
        Title[myhost-misc1]: Free disk space and disk Used of /u02/app/oracle/adump
        PageTop[myhost-misc1]: Free disk space and disk Used of /u02/app/oracle/adump
        ShortLegend[myhost-misc1]: bytes
        kMG[myhost-misc1]: M,G,T
        kilo[myhost-misc1]: 1024
        YLegend[myhost-misc1]: bytes
        LegendI[myhost-misc1]: Disk Used:
        LegendO[myhost-misc1]: Free Disk:
        Legend1[myhost-misc1]: Disk usage, in Bytes
        Legend2[myhost-misc1]: Free Disk Space, in Bytes
        Options[myhost-misc1]: gauge, nopercent, growright
        Timezone[myhost-misc1]: Bangkok

        ทดสอบสร้างภาพต้นแบบด้วยคำสั่ง
        env LANG=C /usr/bin/mrtg /etc/mrtg/myhost-diskfree-misc1.cfg
        ปรับปรุงแฟ้ม index.html ด้วยคำสั่ง
        indexmaker --column=2 --output=/var/www/mrtg/myhost/index.html /etc/mrtg/myhost-cpu.cfg /etc/mrtg/myhost-cpu-io.cfg /etc/mrtg/myhost-speed-eth0.cfg /etc/mrtg/myhost-tcpestab.cfg /etc/mrtg/myhost-memory.cfg /etc/mrtg/myhost-diskfree-misc1.cfg
      • สร้างแฟ้มเลียนแบบข้อ 1 และ 2 สำหรับโฟลเดอร์ที่เหลือ
      • แก้ไขแฟ้ม /etc/mrtg/mymrtg.sh เพิ่มข้อความ  env LANG=C /usr/bin/mrtg /etc/mrtg/myhost-diskfree-misc1.cfg ต่อท้ายไฟล์และเพิ่มทุกไฟล์ของทุกโฟลเดอร์
      • สำหรับโฟลเดอร์ /u03 ให้สร้างแฟ้ม /etc/mrtg/get-diskfree-u03.sh มีข้อความว่า
        #!/bin/bash
        used=$(df -m /u03|grep u03|awk '{ print $3 }')
        free=$(df -m /u03|grep u03|awk '{ print $4 }')
        TEMP=$(uptime|grep -o "load average.*"|awk '{print $3}'|cut -d',' -f 1)
        LOAD=$(echo "${TEMP:-0} * 100"|bc|cut -d'.' -f 1)
        TIME=$(uptime)
        echo "${used}"
        echo "${free}"
        echo "$TIME"
        hostname
        nof=$(ls -d1 /u03/app/oracle/fast_recovery_area/REGIST/archivelog/* |wc -l)
        max=3if [ "${nof}" == "${max}" ]
        then
                nod=$(expr ${max} - 1)
                f2d=$(ls -d1 /u03/app/oracle/fast_recovery_area/REGIST/archivelog/*|head -${nod})
                rm -rf ${f2d}
                su - oracle -c "/bin/sh /home/oracle/reclaim.sh"
        fi
        สร้างแฟ้ม /home/oracle/reclaim.sh มีข้อความว่า
        rman target / <<EOF
        crosscheck archivelog all;
        delete noprompt expired archivelog all;
        quit
        EOF
        สร้างแฟ้ม /etc/mrtg/myhost-diskfree-u03.cfg มีข้อความว่า
        WorkDir: /var/www/mrtg/myhost
        Target[myhost-u03]:`/etc/mrtg/get-diskfree-u03.sh`
        MaxBytes[myhost-u03]: 20000000000
        Title[myhost-u03]: Free disk space and disk Used of /u03
        PageTop[myhost-u03]: Free disk space and disk Used of /u03
        ShortLegend[myhost-u03]: bytes
        kMG[myhost-u03]: M,G
        kilo[myhost-u03]: 1024
        YLegend[myhost-u03]: bytes
        LegendI[myhost-u03]: Disk Used:
        LegendO[myhost-u03]: Free Disk:
        Legend1[myhost-u03]: Disk usage, in Bytes
        Legend2[myhost-u03]: Free Disk Space, in Bytes
        Options[myhost-u03]: gauge, nopercent, growrightทดสอบสร้างภาพต้นแบบด้วยคำสั่ง
        env LANG=C /usr/bin/mrtg /etc/mrtg/myhost-diskfree-u03.cfg
        อย่าลืมปรับปรุงแฟ้ม index.html ด้วย
    • เฝ้าระวังขนาดของ Tablespace SYSTEM และ USERS
      • สร้างแฟ้ม /etc/mrtg/get-tablespace-system.sh มีข้อความว่า
        #!/bin/bash
        used=$(su - oracle -c "sh /home/oracle/monitor/tablespacesize.sh"|grep SYSTEM|awk '{ print $2 }'|sed -e 's/,//g')
        used=$(expr ${used} \* 1024)
        free=$(su - oracle -c "sh /home/oracle/monitor/tablespacesize.sh"|grep SYSTEM|awk '{ print $3 }'|sed -e 's/,//g')
        free=$(expr ${free} \* 1024)
        TIME=$(uptime)
        echo "${used}"
        echo "${free}"
        echo "$TIME"
        hostname

        สร้างแฟ้ม /home/oracle/monitor/tablespacesize.sh มีข้อความว่า
        #!/bin/bash
        sqlplus / as sysdba << EOF
        col "Tablespace" for a22
        col "Used MB" for 99,999,999
        col "Free MB" for 99,999,999
        col "Total MB" for 99,999,999
        select df.tablespace_name "Tablespace",
        totalusedspace "Used MB",
        (df.totalspace - tu.totalusedspace) "Free MB",
        df.totalspace "Total MB",
        round(100 * ( (df.totalspace - tu.totalusedspace)/ df.totalspace))
        "Pct. Free"
        from
        (select tablespace_name,
        round(sum(bytes) / 1048576) TotalSpace
        from dba_data_files
        group by tablespace_name) df,
        (select round(sum(bytes)/(1024*1024)) totalusedspace, tablespace_name
        from dba_segments
        group by tablespace_name) tu
        where df.tablespace_name = tu.tablespace_name ;
        quit
        EOF

        สร้างแฟ้ม /etc/mrtg/myhost-tablespace-system.cfg
        WorkDir: /var/www/mrtg/myhost
        Target[myhost-system]:`/etc/mrtg/get-tablespace-system.sh`
        MaxBytes[myhost-system]: 20000000000
        Title[myhost-system]: Tablespace SYSTEM disk usage
        PageTop[myhost-system]: Tablespace SYSTEM Disk Usage
        ShortLegend[myhost-system]: bytes
        kMG[myhost-system]: k,M,G
        kilo[myhost-system]: 1024
        YLegend[myhost-system]: bytes
        LegendI[myhost-system]: Disk Used:
        LegendO[myhost-system]: Free Disk:
        Legend1[myhost-system]: Disk usage, in Bytes
        Legend2[myhost-system]: Free Disk Space, in Bytes
        Options[myhost-system]: gauge, nopercent, growrightทดสอบสร้างภาพต้นแบบด้วยคำสั่ง
        env LANG=C /usr/bin/mrtg /etc/mrtg/myhost-tablespace-system.cfgอย่าลืมปรับปรุง index.html ด้วย
      • ทำแบบเดียวกันกับ tablespace users
    • จบขอให้สนุก
  • Using KMS Manually to Activate Software

    • ต้องแจ้ง IP Address ที่ต้องการ activate ผ่าน KMS Server ของมหาวิทยาลัยที่ support@psu.ac.th
    • สำหรับ Windows ให้สร้าง batch script ชื่อ WindowsKMS.bat ไว้ที่ C:\ (drive ที่ติดตั้ง Windows) มีข้อความดังนี้
      สำหรับ Windows Vista/7/8/8.1/2008/2008R2/10/11/2012/2012R2/2016/2019/2022
      CD %windir%\System32
      cscript slmgr.vbs /skms kms1.psu.ac.th
      cscript slmgr.vbs /ato
    • สำหรับ Microsoft Office/Visio/Project ให้สร้างแฟ้ม OfficeKMS.bat ไว้ที่ C:\ (drive ที่ติดตั้ง Office) มีข้อความดังต่อไปนี้
      rem Office 2021, Office 2019, Office 2016:
      CD \Program Files\Microsoft Office\Office16
      CD \Program Files (x86)\Microsoft Office\Office16
      rem Office 2013:
      CD \Program Files\Microsoft Office\Office15
      CD \Program Files (x86)\Microsoft Office\Office15
      rem Office 2010:
      CD \Program Files\Microsoft Office\Office14
      CD \Program Files (x86)\Microsoft Office\Office14
      cscript ospp.vbs /sethst:kms1.psu.ac.th
      cscript ospp.vbs /act

      ทั้งนี้ต้องติดตั้ง Office ด้วย Next technology เท่านั้นคือไม่มีการแก้ไข path ที่ใช้ติดตั้ง Office มิฉะนั้นต้องชี้ path ที่ถูกต้องของแฟ้ม ospp.vbs เอง
    • เสร็จแล้วในคลิกขวาที่แฟ้ม WindowsKMS.bat และแฟ้ม OfficeKMS.bat แล้วเลือก run as administrator
    • สำหรับห้องปฏิบัติการหรือเครื่องที่นานๆ (เกิน 30 วัน) เปิดใช้สักครั้งอาจจะต้องมีการเพิ่มหมายเลขผลิตภัณฑ์ลงในสคริปต์ด้วย หลังไมค์มานะครับ….
    • windows Server ก็ใช้ script เดียวกันนี้สำหรับการ activate
    • จบ ขอให้สนุกครับ
  • How to use bitlocker?

    หลังจาก Truecrypt ไม่ปลอดภัย ? คนความลับเยอะจะใช้อะไรเข้ารหัส HDD กันดี ทางเลือกหนึ่งคือใช้ bitlocker ที่มาพร้อมกับ Windows 7/8/8.1/10 (รุ่น Professional, Enterprise, Education, Enterprise LTSB เท่านั้น) และ Windows Server 2008/2008R2/2012/2012R2/(2016?)

    • เพื่อความสะดวกจึงสร้าง Virtual Hard Disk ดังนี้
      • เปิด Disk Management (Start > RUN > diskmgmt.msc)
        rundiskmgmt.msc
      • จะได้ Disk Management
        diskmanagementconsole
      • คลิกที่เมนู Action เลือก Create VHD
        createvhd
      • จะได้หน้าต่าง Create and Attach Virtual Hard Disk
        createandattachvhd
      • เลือกที่เก็บ ขนาดและชนิดได้ตามชอบใจ VHD และ VHDX ต่างกันตามคำอธิบายนะครับ ดังนั้นตามตัวอย่างนี้จะได้ดังรูป
        createvhdx
      • เลือกเรียบร้อยกด OK จะได้ HDD ลูกใหม่เพิ่มขึ้นมาอยู่ในสถานะ Not Initialize เหมือนเราเอา HDD ลูกใหม่ที่เพิ่งซื้อ (สดๆ :p ) มาเสียบ
        newdiskattach
      • คลิกขวาที่ HDD ลูกใหม่นี้เลือก Initialize Disk
        initializedisk
      • เลือกชนิดพาทิชั่นที่ต้องการว่าจะเป็น MBR หรือ GPT อันนี้ปล่อยตามค่าที่ถูกเลือกไว้แต่แรกเลยก็ได้ อย่าลืมอ่าน Note: ด้านล่างด้วยนะครับ (จะเป็น MBR หรือ GPT ขึ้นอยู่กับว่าลง Windows มาในโหมดไหน UEFI หรือ BIOS)
        initializenewdisk
      • สร้าง Partition ใหม่ ตัวอย่างนี้เลือกเป็น GPT Partition Table จะเรียกเป็น Simple Volume คลิกขวาที่พื้นที่ Unallocated เลือก New Simple Volume…
        newsimplevolume
      • เลือกขนาด Partiton ให้เป็นพื้นที่ทั้งหมดไปเลย แล้วกด Next ไปเรื่อยๆ
        newsimplevolumewizard
      • จนถึงขั้นตอน Format สามารถเลือกได้ทุกชนิดไม่ว่าจะเป็น FAT32 หรือ NTFS ตามตัวอย่างนี้เลือก NTFS กด Next แล้ว Finish
        format
      • จะได้ HDD ลูกใหม่ที่มี Partition ชื่อ Bitlocker เพิ่มขึ้นมาแล้ว (H:)
        drivebitlocker
      • เปิดดูด้วย Windows Explorer จะเห็น Drive H เพิ่มขึ้นมาแล้ว เป็นอันเสร็จสำหรับการสร้าง Virtual Hard Disk
        windowsexplorer
    • คลิกขวาที่ Drive H เลือก Turn on Bitlocker
      turnonbitlocker
    • จะได้หน้าต่าง Bitlocker Drive Encryption (H:) (ชื่อ Drive อาจต่างไปจากนี้แล้วแต่เครื่องนะครับ)
      bitlockerdriveencryption
    • เลือก Use a password to unlock the drive แล้วตั้ง Password ตามต้องการ กด Next
      passwordcreate
    • จะได้หน้าสำหรับ Backup recovery key เลือกได้เลยว่าจะเก็บไว้ในรูปแบบไหน (ในตัวอย่างเลือก Save to a file ไว้ก่อนเนื่องจากไม่ได้เข้าวินโดวส์ด้วย Microsoft account) เลือกเสร็จแล้วกด Next
      backuprecoverykeyจะได้ TXT file ชื่อขึ้นต้นด้วย BitLocker Recovery Key*.txt ให้เก็บไว้ให้ดีเผื่อกรณีฉุกเฉิน (อ่านรายละเอียดเกี่ยวกับ recovery key ได้โดยคลิกที่ What is a recovery key?)
    • คลิก Start encrypting
      startencrypting
    • รอสักครู่เมื่อไปดูที่ Windows Explorer จะเป็นว่ามีรูปแม่กุญแจขึ้นที่ Drive H แล้ว
      bitlockersuceed
    • คลิกขวาที่ Drive H เลือก Eject
      eject
    • Drive H หายไปแล้ว
      nonh
    • ไปยังที่เก็บแฟ้มที่สร้างไว้ ในข้อ ๑ หัวข้อย่อย ๕ (E:\aa.vhdx)
      aa
    • คลิกขวาที่ aa.vhdx เลือก Mount
    • ดูที่ Windows Explorer จะเห็นว่า Drive H ถูกล็อคไว้อยู่
      lock
    • คลิกขวาที่ Drive H เลือก Unlock Drive… จะมีหน้าต่างปรากฏขึ้นให้ใส่พาสเวิร์ดที่ตั้งไว้
      unlock
      enterpasswordtounlock
    • Unlocked
      bitlockersuceed
    • สามารถใช้ได้เหมือน HDD ปกติ และ HDD ปกติสามารถเปิดใช้ Bitlocker ได้ด้วยวิธีการเดียวกัน โดยไม่ต้องสร้าง Virtual Hard Disk ก็ได้
    • Eject Drive H ทุกครั้งที่งานเสร็จ
    • จบ ขอให้สนุกครับ

    อ้างอิง
    http://truecrypt.sourceforge.net/
    http://www.neowin.net/news/truecrypt-audit-reveals-vulnerabilities-but-no-backdoors

  • Dual Boot Ubuntu 14.04 & Windows 8.1 in UEFI

    • เหตุการณ์สมมติจึงใช้ VirtualBox
    • ตั้งค่า VirtualBox ดังภาพ (ขอข้ามวิธีการสร้างเครื่องใหม่บน VirtualBox ไปเลยนะครับ คิดซะว่าชำนาญแล้ว โดยขนาด HDD ที่ต้องการ 100GB เป็นอย่างน้อย) โดยเลือก option ที่เขียนว่า Enable EFI (special OSes Only) และในช่อง  Boot Order: ให้เลื่อนเป็น Optical แล้วตามด้วย Hard Disk แล้วกด OK
      uefi1
    • เมื่อเปิดเครื่องจะได้หน้าจอดังภาพ แสดงว่า BIOS ของเรากลายเป็น UEFI เรียบร้อยแล้ว
      uefi2
    • เลือกแผ่น Ubuntu 14.04 ให้ต่อเข้ากับ Device
      uefi3
    • reset เครื่อง
      uefi4
    • เลือก *Try Ubuntu without installing
      uefi5
    • รอจนได้ Windows Manager แล้วดับเบิ้ลคลิก Install Ubuntu 14.04.2 LTS บน Desktop เข้าสู่กระบวนการติดตั้ง Ubuntu ปกติทั่วไปสามารถใช้ Next Technology ได้เลยไปเรื่อยๆ จนถึงหน้า Installation type ให้เลือกหัวข้อ Something else แล้วกด Continue
      uefi6
    • คลิก New Partition Table… คลิก Continue จะได้ดังภาพ
      uefi7
    • คลิกคำว่า free space แล้วคลิกเครื่องหมายบวก (+) สร้าง Partition ขนาด 512MB มีชนิดเป็น EFI boot partition (ควรดูด้วยว่าพาทิชั่นที่ได้เมื่อสร้างเสร็จมีขนาด 512MB จริงๆ โดยใน VM ที่สร้างนี้ตอนสร้างใส่ไป 514MB) และกด + เพื่อสร้าง swap ในตัวอย่างกำหนดแรมไว้ 4GB สามารถสร้าง Swap เท่าแรมได้เลย และ / (root ขนาด 50GB) ตามลำดับโดยจะเหลือพื้นที่เปล่าไว้ด้วย
      uefi8
    • ภาพแสดงพาทิชั่นเมื่อสร้างเสร็จแล้ว
      uefi9
    • คลิก Install Now และคลิก Continue ที่เหลือหลังจากนี้สามารถกลับสู่โหมด Next Technology ได้เลยจนจบ
      uefi10
      uefi11
    • สิ้นสุดคลิก Restart Now
      uefi12
    • เอาแผ่นออกแล้วกด Enter (ปกติจะเอาออกให้อัตโนมัติ)
      uefi13
    • ลองบูตดูจนได้หน้า Log In
      uefi14
    • เลือก Devices แล้ว Optical Drives แล้วเลือกแผ่น Windows 8.1
      uefi15
    • คลิกรูปเฟืองที่มุมบนขวา เลือก Shutdown แล้วคลิก Restart
      uefi16
    • เมื่อ VM กำลัง Shutdown ให้สังเกตุดูว่า โลโก้ Ubuntu หายไปให้รีบ ESC ทันทีจะได้ดังภาพ
      uefi17
    • เลื่อน Cursor ลงมาที่ Boot Manager แล้วกด Enter จะได้ดังภาพ
      uefi18
    • เลื่อน Cursor ลงมาที่คำว่า EFI DVD/CDROM แล้วจะมีข้อความว่า Press any key to boot from CD or DVD….
      uefi19
    • เมื่อกดปุ่มใดๆ จะเข้าสู่วินโดวส์เพื่อเริ่มติดตั้ง
      uefi20
    • เมื่อได้หน้าเลือกภาษาให้เลือกดังภาพ แล้วคลิก Next
      uefi21
    • คลิก Install now
      uefi22
    • คลิกเครื่องหมายถูกหน้าข้อความ I accept the license terms คลิก Next
    • เลือก Custom: Install Windows only (advanced)
      uefi23
    • จะเห็นพื้นที่ดิสก์ที่เราใช้งานอยู่ในตอนนี้จะเห็นว่ามีที่เหลืออยู่ 48GB ที่เป็น Unallocated Space (และถูกเลือกโดยอัตโนมัติไว้อยู่แล้ว) ในตัวอย่างนี้เราจะสร้างเพียงไดรฟ์ซีเพียงอย่างเดียวให้คลิก Next
      uefi24
    • เข้าสู่การติดตั้ง Windows รอไปจนเสร็จ…
      uefi25
    • เมื่อติดตั้ง Windows  เสร็จแล้วจะถูกบังคับเข้าวินโดวส์ทันที Ubuntu หายไปแล้ว… เพราะ Boot Manager ของ Ubuntu ถูกเขียนทับไปนั่นเอง ให้ตั้งค่า Windows ให้เสร็จเรียบร้อยก่อนแล้วชัตดาวน์เครื่อง เลือก Devices แล้วเลือก Optical Drives เลือกแผ่น Ubuntu อีกครั้ง เมื่อได้ Menu ให้เลือก *Try Ubuntu without installing
      uefi26
    • เมื่อได้หน้า Windows Manager กด Ctrl+alt+T พิมพ์ข้อความดังนี้  และในขั้นตอนนี้ต้องแน่ใจว่าเครื่องเชื่อมต่อ Internet ได้เรียบร้อยแล้ว
      sudo add-apt-repository ppa:yannubuntu/boot-repair
      sudo apt-get update
      sudo apt-get install -y boot-repair
    • แล้วต่อด้วยคำสั่ง sudo boot-repair จะได้ดังภาพ
      uefi27
    • คลิกที่ Recommended repair จะได้ดังภาพ ให้รอไปจนเสร็จ
      uefi28
    • เมื่อได้หน้าจอดังภาพกด OK แล้วสั่งรีบูตได้เลยuefi29
    • เมื่อบูตขึ้นมาจะได้หน้าเมนูที่คุ้นเคยสามารถเลือกได้ว่าจะเข้าอะไร
      uefi30
    • จบขอให้สนุกครับ

    อ้างอิงเพิ่มเติม

    https://help.ubuntu.com/community/Boot-Repair

  • How to reset root password CentOS 7.1

    • เข้า Single user mode โดย reboot แล้วเมื่อได้เมนูของ Grub ให้เลื่อนแถบสีไปยัง Kernel ที่ต้องการบูต (โดยปกติจะถูกเลือกไว้อยู่แล้ว) ให้กด e
      reset1จะได้หน้าจอดังนี้
      reset2สิ่งที่เราสนใจคือบรรทัดที่ขึ้นต้นว่า linux ซึ่งในบทความนี้คือ linux16 สำหรับ CentOS 7/7.1 x86_64 บนเมนบอร์ดที่ใช้ระบบ BIOS (อาจจะพบกับ linuxefi สำหรับเมนบอร์ดที่ใช้ระบบ UEFI) เมื่อหาเจอแล้วเลื่อน cursor ไปที่ ข้อความ ro
      reset2-1เปลี่ยน ro เป็น rw init=/sysroot/bin/sh
      reset3-1กดปุ่ม ctrl และปุ่ม x พร้อมกันเพื่อบูตระบบจะได้ดังภาพ
      reset4
    • พิมพ์คำสั่ง chroot  /sysroot
      reset5-1
    • พิมพ์ passwd เพื่อเปลี่ยนรหัสผ่านสำหรับ root
    • สร้างแฟ้ม autorelabel เพื่อปรับปรุงกฏของ selinux (ถึงแม้จะไม่ได้ใช้งาน selinux ก็ตาม เพื่อความไม่ประมาท) โดยคำสั่ง touch /.autorelabel
    • พิมพ์ exit เพื่อยกเลิก chroot
    • พิมพ์ reboot
      reset6-1
    • ระบบจะรีบูตสองรอบ อัตโนมัติเพื่อปรับปรุง selinux และไฟล์ autorelabel จะถูกลบอัตโนมัติ
    • ล็อคอินเข้าระบบด้วยผู้ใช้ root และ password ที่เปลี่ยนไป ลบแฟ้ม /.bash_history ทิ้งด้วยคำสั่ง rm /.bash_history (ถูกสร้างตอนออกจากระบบ chroot)
    • จบขอให้สนุกครับ

    อ้างอิงเพิ่มเติม
    https://access.redhat.com/documentation/en-US/Red_Hat_Enterprise_Linux/7/html/System_Administrators_Guide/sec-Terminal_Menu_Editing_During_Boot.html#sec-Recovering_Root_Password

  • How to restore a system after accidentally removing all kernels?

    เหตุการณ์สมมติ… ทำไงดี??? เผลอรันคำสั่ง

    sudo apt-get remove --purge linux-image-3.19.0-*

    ได้ผลดังรูป (ดันกด y แล้ว enter อีกนะ)
    Capture1งานงอก …ลอง ls /boot เผื่อว่ายังมี Kernel เหลืออยู่บ้าง
    Capture2
    คุณพระ ไปหมดแล้ว… ตกใจ!!! reboot สิ… (กรั่ก ๆ)
    (หากไม่ตกใจจน reboot ไปซะก่อนสามารถพิมพ์คำสั่ง sudo apt-get install linux-image-generic ได้เลย)
    Capture3 เงิบ!!! เหลือแต่ Memory Test….

    แก้ไขโดยหาแผ่น Ubuntu Desktop ควรเป็นรุ่นเดียวกับรุ่นที่ติดตั้ง 12.04, 14.04 เป็นต้น (แต่แนะนำ 14.04 ถึงแม้จะกู้เครื่องที่เป็น 12.04)

    • เมื่อบูตให้เลือก Try Ubuntu รอจน Desktop ขึ้นมาเรียบร้อย เปิด Terminal ขึ้นมา (กด ctrl+alt+t)
    • พิมพ์คำสั่ง sudo fdisk /dev/sda -l (กรณีนี้รู้แน่ๆ ว่าติดตั้งบน /dev/sda)
      Capture4
    • จากรูปมีสอง patition ที่น่าจะติดตั้ง Ubuntu เอาไว้ คือ /dev/sda1 และ /dev/sda5 ถ้าใช้แผ่น 12.04 จะไม่สามารถ mount ส่วนของ /dev/sda5 ได้เพราะมองไม่เห็น patition ที่เป็น LVM ตั้งแต่แรก แต่แผ่น 14.04 มองเห็น
      Capture5
    • เมื่อคลิกที่ 103 GB Volume สามารถมองเห็นไฟล์ทั้งหมด
      Capture6
    • ลองเปิดไฟล์ใน etc/fstab ดูไฟล์ข้างในว่า partition อยู่อย่างไร
      Capture7
    • พบว่า /dev/sda1 เป็น boot และ /dev/mapper/ubuntu–vg-root เป็น / และ /dev/mapper/ubuntu–vg-swap_1 เป็น swap เราสนใจแค่ boot และ /
    • สั่ง mount patition ตามลำดับต่อไปนี้
      sudo mount /dev/mapper/ubuntu--vg-root /mnt
      sudo mount /dev/sda1 /mnt/boot
      sudo mount --bind /dev /mnt/dev
      sudo mount --bind /sys /mnt/sys
      sudo mount --bind /proc /mnt/proc
      Capture1111
    • สั่งคำ chroot ไปยัง /mnt สังเกตว่าหลังจากสั่งคำสั่ง chroot แล้ว prompt จะเปลี่ยนเป็น root@ubuntu:/#
      sudo chroot /mnt
      Capture9
    • ให้ตรวจสอบแฟ้ม /etc/apt/sources.list ว่าใช้ repository ไหนด้วย หากไม่ได้ใช้ th.archive.ubuntu.com หรือ mirror.psu.ac.th หรือ mirrors.psu.ac.th หรือ mirror1.ku.ac.th ให้เปลี่ยนเป็น th.archive.ubuntu.com จากนั้นทดสอบ nslookup th.archive.ubuntu.com สำหรับคนที่ resolve ได้ (เรายินดีด้วย) ข้ามข้อ ๑๐ ไปได้เลย
      Capture11
    • แก้ไขแฟ้ม /etc/hosts
      สำหรับเครื่องที่อยู่นอกมหาวิทยาลัยเพิ่มข้อความว่า
      192.100.77.186 th.archive.ubuntu.com
      สำหรับเครื่องที่อยู่ภายในมหาวิทยาลัยเพิ่มข้อความว่า
      192.168.101.34 th.archive.ubuntu.com
       
    • สั่ง
      apt  install linux-image-generic
      Capture1112
    • รอจนเสร็จได้ข้อความสุดท้ายประมาณว่า  Setting up linux-image-generic (… ให้แก้ไขไฟล์ /etc/hosts โดยเอาบรรทัดที่เพิ่มเข้าไปออก
    • พิมพ์คำสั่งต่อไปนี้ตามลำดับ
      exit
      sudo umount /mnt/proc /mnt/dev /mnt/sys /mnt/boot /mnt
      sudo reboot
    • เย่บูตได้..
    • จบขอให้สนุกครับ
  • Dialog cannot open tty-output

    dialog บน Oracle Enterprise Linux และ Ubuntu ไม่เหมือนกัน (ทำไมล่ะ…ไม่ทราบครับ)

    สร้างสคริปต์ชื่อ file.sh มีข้อความว่า

    #!/bin/bash
    FILE=$(dialog --ascii-lines --title "Delete a file" --stdout \
    --title "Please choose a file to delete" --fselect /tmp/ 14 48)
    echo $FILE

    บน Ubuntu รันได้ผลลัพธ์
    Ubuntu's Dialogแต่บน Oracle Enterprise Linux
    Oracle Enterprise LInux' Dialog-_-

    ต้องเปลี่ยนสคริปต์มีสองแบบ
    แบบแรก
    #!/bin/sh
    dialog --ascii-lines --title "Delete a file" --stdout \
    --title "Please choose a file to delete" --fselect /tmp/ 14 48 2>/tmp/file.tmp
    echo $(cat /tmp/file.tmp)

    แบบที่สอง
    #!/bin/bash
    FILE=$(dialog --ascii-lines --title "Delete a file" --stdout \
    --title "Please choose a file to delete" --fselect /tmp/ 14 48 2>&1>/dev/tty)
    echo $FILE

    ผลลัพธ์ของทั้งสองแบบให้ผลเหมือนกันคือ
    Oracle Enterprise Linux's Dialog2จบ..วันนี้ห้วนไปหน่อย ขอให้สนุกครับ

  • Mozilla Thunderbird & Google Calendar

    1. ติดตั้ง extension 2 ตัวใน Thunderbird ได้แก่ Lightning และ Provider for Google Calendar ดังรูป

    Screenshot from 2015-01-12 13:55:01
    extension; lightning, Provider for Google Calender

    2. รีสตาร์ท Thunderbird จะพบปุ่ม Screenshot from 2015-01-12 13:47:30 อยู่ทางมุมบนขวา
    3. เข้า gmail.psu.ac.th ล็อคอินให้เรียบร้อย คลิก  Screenshot from 2015-01-12 14:25:17 แล้วเลือก Calendar
    4. ที่หน้า Calendar คลิก Screenshot from 2015-01-12 13:42:32 เลือก Setting

    5. คลิก Calenders ทีี่มุมซ้ายบน Screenshot from 2015-01-12 13:43:43

    6. เลือกปฏิทินที่ต้องการ

    Screenshot from 2015-01-12 13:44:58
    Available Calendar

    7. ตรวจสอบว่าใช่ปฏิทินที่ต้องการหรือไม่ดูที่ ช่อง Calender Owner ว่าเป็นอันเดียวกับ Username ที่ล็อคอินเข้า gmail

    Screenshot from 2015-01-12 13:45:26
    Calendar Owner

    8. เลื่อนดูด้านล่างในส่วนของ Private Address:

    Screenshot from 2015-01-12 13:45:49
    Private Address

    9. คลิกขวาที่ ICAL เลือก Copy Link Location

    Screenshot from 2015-01-12 13:47:1010. กลับมาที่ Thunderbird กดปุ่ม Screenshot from 2015-01-12 14:37:32 เพื่อเปิดปฏิทิน
    11. คลิกขวาที่ช่องว่างฝั่งซ้ายมือใต้คำว่า Calendar เลือก New Calendar

    Screenshot from 2015-01-12 13:48:07
    New Calendar

    12. ได้หน้าต่าง Create New Calendar เลือก Google Calendar กด Next

    Screenshot from 2015-01-12 13:56:5913. กด Ctrl-v เพื่อ paste URL ของปฏิทินที่ Copy มาในข้อก่อนหน้า

    Screenshot from 2015-01-12 13:57:2114. กด back 1 ครั้งแล้วกด Next ใหม่ (อันนี้น่าจะเป็นบักของ Ubuntu 14.10)

    Screenshot from 2015-01-12 13:57:3915. กด Next
    16. จะมีหน้าต่างเพื่อยืนยันตัวตนของ Google ปรากฎขึ้นมา

    Screenshot from 2015-01-12 14:00:1217.  กด Sign in จะได้อีกหน้าต่างดังรูป กดยอมรับ

    Screenshot from 2015-01-12 13:59:0518. จะมีหน้าให้เลือกปฏิทินที่ต้องการอีกครั้งกด Next

    Screenshot from 2015-01-12 13:59:30
    Lacate your calendar

    19. จะมีหน้าให้ ยืนยันตัวตน และหน้าเพื่อขอสิทธิ์การเข้าถึง อีกรอบกดให้ Sign in และยอมรับ

    20. กด Finish

    Screenshot from 2015-01-12 14:00:3721. ก็จะได้ปฏิทินเพิ่มมาตามต้องการ

    Screenshot from 2015-01-12 14:51:2822. ทั้งหมดนี้ทำบน Ubuntu 14.10 บน Windows ก็น่าจะทำเหมือนกัน
    23. สามารถเพิ่มลบเหตุการณ์ผ่าน Thunderbird ได้เลยไม่ต้องเข้าเว็บอีก …
    24. จากที่ทดสอบหนึ่ง Profile ของ Thunderbird สามารถมี Google Calendar ได้เพียง account เดียว
    25. ขอให้สนุกครับ