grianggrai.n
แบบด่วนๆ เลยนะ ล็อคอินเข้าระบบด้วยบัญชีผู้ใช้ root ปกติติดตั้งมาให้ตั้งแต่เริ่มต้น หากยังไม่ได้ติดตั้ง สามารถติดตั้งด้วยคำสั่ง yum install firewalld firewall-config สั่งให้ firewalld ทำงานด้วยคำสั่ง systemctl enable firewalld.service systemctl start firewalld.service ดูสถานะการทำงานของ firewalld ด้วยคำสั่ง systemctl status firewalld.service ต้องได้ประมาณว่า อธิบายได้ว่า ยอมรับการเข้าถึงจากไอพี 192.26.0.1 มายัง tcp port 631 ไปที่ zone public แบบถาวร zone public เป็น zone ที่ถูกเลือกไว้โดย default แปลว่าอนุญาต ไอพี 192.100.33.12 ให้เข้ามาที่บริการ ssh ได้ คลิก Ok เพิ่มเพิ่มกฎ จะได้
>> Read More <<
kanakorn.h
AnythingLLM เป็นเครื่องมือทำ RAG (retrieval-augmented generation) โดยอาศัย LLM (Large Language Model) ต่าง ๆ เช่น Llama, Mistral, Gemma ซึ่งสามารถใช้แบบ Local LLM ได้ ผ่าน Ollama หรือ LM Studio และกลุ่มที่เป็น Cloud LLM อย่าง GPT-4o, Gemini และ Claude Sonet เป็นต้น RAG ต่างจากการใช้ Chatbot คือ เราสามารถให้ LLM ทำความเข้าใจ Context หรือ บริบท ของข้อมูลในองค์กรเราได้ ซึ่งแน่นอนว่า Local LLM ย่อมเป็นส่วนตัวกว่า แต่ ในบางกรณี เราก็ต้องการพลังที่เหนือกว่าของ Cloud LLM…
หากเป็น node เก่า อย่าลืมทำ [บันทึกกันลืม] K8S เอา node เดิม join กลับเข้ามาไม่ได้ เป็นปัญหาเพราะ CNI Adding a new node running Ubuntu 22.04 to Kubernetes version 1.26.15 cluster. Hope this help.
จุดประสงค์: เพื่อให้ใช้งาน physical server ได้เต็มประสิทธิภาพ พอดีใช้ Kubernetes จนถึง ลิมิต 110 pods / node ทำไงดี CPU/Ram เหลือ เลยคิดจะทำ Virtualization ขึ้นไปอีกชั้น จากนั้นก็เอามา join เข้า cluster อีกเครื่อง ทำให้สร้าง 220 pods / nodes เอาว่า เป็นเพื่อการทดลอง แต่ใครมี server ใช้งานไม่เต็มประสิทธิภาพ จะใช้ vmware ก็เกรงจะต้องเสียตังค์ หรือ ไม่อยากไปใช้ promox ve ซึ่งไม่รู้เมื่อไหร่จะต้องเสียตังค์ ก็ลองดูวิธีนี้ได้ ติดตั้ง KVM บน Ubuntu 22.04 ติดตั้ง Cockpit สร้าง VM ใช้งาน cockpit http://server-ip-address:9090
suntaree.n
1. คลิกลิงก์ https://psu-th.zoom.us >> คลิก Sign in >> กรอกบัญชีผู้ใช้ด้วย PSU Passport 2. คลิก Settings > Schedule Meeting > กดเปิดใช้งาน Allow participants to join before host 3. ติ๊กถูก Participants can join > กด Save
1. ตั้งค่าผ่าน Browsers (ตั้งค่าล่วงหน้าการประชุมทั้งหมด) 1.1 คลิกลิงก์ https://psu-th.zoom.us >> คลิก Sign in >> กรอกบัญชีผู้ใช้ด้วย PSU Passport 1.2 คลิก Settings > In Meeting (Basic) > Screen sharing เลือก Enable >Who can share? เลือก All Participants (ผู้เข้าร่วมสามารถแชร์ได้) 2. ตั้งค่าผ่าน App (ทำระหว่างการประชุมผ่าน Zoom) 2.1 Host/Co-host > Join Zoom Meeting ID 2.2 คลิก Share ^ >> Advanced sharing options… >> Who can share?…
Zoom PSU(1)วิธี Sign In ด้วย SSO แบบติดตั้งโปรแกรม Zoom บน PCby สุนทรี นภิบาล • September 26, 2022 Zoom PSU(2) วิธี Sign In ด้วย SSO บน Web Browserby สุนทรี นภิบาล • September 27, 2022 Zoom PSU(3) สร้างห้องประชุม (Meeting ID) และส่งให้ผู้เข้าร่วมby สุนทรี นภิบาล • September 28, 2022 Zoom PSU(4) การดาวน์โหลดไฟล์วีดีโอ บน Cloud Storageby สุนทรี นภิบาล • September 28,…
1.1 คลิกลิงก์ https://psu-th.zoom.us >> คลิก Sign in >> กรอกบัญชีผู้ใช้ด้วย PSU Passport 1.2 คลิก Profile ****Host Key แนะนำให้เปลี่ยนทุกครั้ง เมื่อต้องการให้ Guest กับการประชุมใหม่ *** 2.1 ผู้เข้าร่วม Join Zoom Meeting ID 2.2 คลิก Participants >> Claim host 2.3 กรอกเลขที่ได้รับจาก Host หรือเจ้าของห้อง >> กด Claim host 2.4 ตรวจสอบวงเล็บหลังชื่อ จะเปลี่ยนจาก (Me) เป็น (Host, me) 2.5 จะได้สิทธิ์ Host ในการควบคุมห้อง เช่น กดบันทึก, กดปิด-เปิด ไมโครโฟน, ตั้งค่าการ…
1.1 คลิกลิงก์ https://psu-th.zoom.us >> คลิก Sign in >> กรอกบัญชีผู้ใช้ด้วย PSU Passport 1.2 คลิก Profile 1.3 เลื่อนลงมาดูรายละเอียด “Account” >> “Meeting xxx participants”