วิธีการติดตั้ง Kubernetes Add-on DNS และ DashBoard

Kubernetes มี DNS กับ GUI ให้ใช้งานบ้างไหม

            หลังจากติดตั้ง Kubernetes แล้วการสร้าง containner โดยในที่นี้เรียกว่า pod (ใช้เรียก 1 containner หรือกลุ่มของ containner ก็ได้) ซึ่งสามารถสร้างด้วยคำสั่ง Kubectl ได้เลย (สร้างจากที่ไหนก็ได้) สำหรับผู้ที่ยังไม่ได้ติดตั้ง ต้องติดตั้งก่อนตามวิธีติดตั้ง Kubernetes บน CoreOS ตอนที่ 1[1] และ ตอนที่ 2[2] 

สำหรับ Add-on ที่แนะนำจะเป็น DNS และ Dashboard ซึ่งเรียกได้ว่าจำเป็นต้องมี ไม่งั้นชีวิตจะยุ่งยากขึ้นเยอะครับ คงไม่มีใครอยากดูรายการ pod เยอะ ๆ ด้วย command line กันนะครับ

 วิธีการติดตั้ง DNS-Addon[3]

  • เข้าไปยังเครื่องที่ติดตั้ง Kubectl ไว้แล้ว ทำการสร้าง yaml file ดังนี้ (ถ้า vim วางแล้วเพี้ยนให้ใช้ nano แทน)
    nano dns-addon.yaml

    เนื้อหาในไฟล์ดังนี้ (อย่าลืมเปลี่ยน > เป็น > เวลา Copy & Paste ด้วยครับ)

    apiVersion: v1
    kind: Service
    metadata:
      name: kube-dns
      namespace: kube-system
      labels:
        k8s-app: kube-dns
        kubernetes.io/cluster-service: "true"
        kubernetes.io/name: "KubeDNS"
    spec:
      selector:
        k8s-app: kube-dns
      clusterIP: <DNS Cluster-IP>
      ports:
      - name: dns
        port: 53
        protocol: UDP
      - name: dns-tcp
        port: 53
        protocol: TCP
    
    
    ---
    
    
    apiVersion: v1
    kind: ReplicationController
    metadata:
      name: kube-dns-v20
      namespace: kube-system
      labels:
        k8s-app: kube-dns
        version: v20
        kubernetes.io/cluster-service: "true"
    spec:
      replicas: 1
      selector:
        k8s-app: kube-dns
        version: v20
      template:
        metadata:
          labels:
            k8s-app: kube-dns
            version: v20
          annotations:
            scheduler.alpha.kubernetes.io/critical-pod: ''
            scheduler.alpha.kubernetes.io/tolerations: '[{"key":"CriticalAddonsOnly", "operator":"Exists"}]'
        spec:
          containers:
          - name: kubedns
            image: gcr.io/google_containers/kubedns-amd64:1.9
            resources:
              limits:
                memory: 170Mi
              requests:
                cpu: 100m
                memory: 70Mi
            livenessProbe:
              httpGet:
                path: /healthz-kubedns
                port: 8080
                scheme: HTTP
              initialDelaySeconds: 60
              timeoutSeconds: 5
              successThreshold: 1
              failureThreshold: 5
            readinessProbe:
              httpGet:
                path: /readiness
                port: 8081
                scheme: HTTP
              initialDelaySeconds: 3
              timeoutSeconds: 5
            args:
            - --domain=cluster.local.
            - --dns-port=10053
            ports:
            - containerPort: 10053
              name: dns-local
              protocol: UDP
            - containerPort: 10053
              name: dns-tcp-local
              protocol: TCP
          - name: dnsmasq
            image: gcr.io/google_containers/kube-dnsmasq-amd64:1.4
            livenessProbe:
              httpGet:
                path: /healthz-dnsmasq
                port: 8080
                scheme: HTTP
              initialDelaySeconds: 60
              timeoutSeconds: 5
              successThreshold: 1
              failureThreshold: 5
            args:
            - --cache-size=1000
            - --no-resolv
            - --server=127.0.0.1#10053
            - --log-facility=-
            ports:
            - containerPort: 53
              name: dns
              protocol: UDP
            - containerPort: 53
              name: dns-tcp
              protocol: TCP
          - name: healthz
            image: gcr.io/google_containers/exechealthz-amd64:1.2
            resources:
              limits:
                memory: 50Mi
              requests:
                cpu: 10m
                memory: 50Mi
            args:
            - --cmd=nslookup kubernetes.default.svc.cluster.local 127.0.0.1 > /dev/null
            - --url=/healthz-dnsmasq
            - --cmd=nslookup kubernetes.default.svc.cluster.local 127.0.0.1:10053 > /dev/null
            - --url=/healthz-kubedns
            - --port=8080
            - --quiet
            ports:
            - containerPort: 8080
              protocol: TCP
          dnsPolicy: Default
  • จากนั้นทำการสร้าง pod ดังนี้
    kubectl create -f dns-addon.yaml
  • สามารถตรวจสอบสถานะการสร้าง pod และ log ได้ดังนี้
    kubectl get pods --namespace=kube-system
    kubectl logs kube-dns-v20-xxxxx -n=kube-system dnsmasq
  • โดยอันที่จริงมีอีกหลายแบบครับ มีแบบ auto scale ก็มีครับ ลองศึกษาดูใน Internet ครับ

  วิธีการติดตั้ง Dashboard-Addon[3]

  • เข้าไปยังเครื่องที่ติดตั้ง Kubectl ไว้แล้ว ทำการสร้าง yaml file ดังนี้ (ถ้า vim วางแล้วเพี้ยนให้ใช้ nano แทน)
    nano kube-dashboard-rc.yaml

    เนื้อหาในไฟล์ดังนี้

    apiVersion: v1
    kind: ReplicationController
    metadata:
      name: kubernetes-dashboard-v1.6.1
      namespace: kube-system
      labels:
        k8s-app: kubernetes-dashboard
        version: v1.6.1
        kubernetes.io/cluster-service: "true"
    spec:
      replicas: 1
      selector:
        k8s-app: kubernetes-dashboard
      template:
        metadata:
          labels:
            k8s-app: kubernetes-dashboard
            version: v1.6.1
            kubernetes.io/cluster-service: "true"
          annotations:
            scheduler.alpha.kubernetes.io/critical-pod: ''
            scheduler.alpha.kubernetes.io/tolerations: '[{"key":"CriticalAddonsOnly", "operator":"Exists"}]'
        spec:
          containers:
          - name: kubernetes-dashboard
            image: gcr.io/google_containers/kubernetes-dashboard-amd64:v1.6.1
            resources:
              limits:
                cpu: 100m
                memory: 50Mi
              requests:
                cpu: 100m
                memory: 50Mi
            ports:
            - containerPort: 9090
            livenessProbe:
              httpGet:
                path: /
                port: 9090
              initialDelaySeconds: 30
              timeoutSeconds: 30
  • จากนั้นสร้างอีกไฟล์ดังนี้
    nano kube-dashboard-svc.yaml

    เนื้อหาในไฟล์ดังนี้

    apiVersion: v1
    kind: Service
    metadata:
      name: kubernetes-dashboard
      namespace: kube-system
      labels:
        k8s-app: kubernetes-dashboard
        kubernetes.io/cluster-service: "true"
    spec:
      selector:
        k8s-app: kubernetes-dashboard
      ports:
      - port: 80
        targetPort: 9090
  • จากนั้นทำการสร้าง pod ดังนี้
    kubectl create -f kube-dashboard-rc.yaml
    kubectl create -f kube-dashboard-svc.yaml
  • สามารถตรวจสอบสถานะการสร้าง pod และทำการ forward port ได้ดังนี้
    kubectl get pods --namespace=kube-system
    kubectl port-forward kubernetes-dashboard-v1.6.1-XXXX 9090 --namespace=kube-system

     

  • หลังจากนั้นสามารถทดสอบเปิด Browser บนเครื่องที่รัน kubectl เพื่อทดสอบได้เลย (สามารถเปิดใช้งานได้ 2 วิธีคือผ่านช่องทางปกติ หรือใช้ kubectl ดึงมาจาก pod โดยตรงแล้วทำการ forward port ก็ได้)

                  จะเห็นว่าถ้าเป็น web จะดูอะไรก็ง่ายขึ้นเยอะครับ แต่เนื่องจากไม่มีระบบ login ก็ต้องระวังดี ๆ ถ้าจะเปิดให้ใครก็ได้ใช้งาน อาจต้องสร้าง proxy ดักให้ใส่รหัสผ่านก่อนชั้นหนึ่ง หรือจะเน้นใช้ command line อย่างเดียวก็ได้ครับ….

==================================

Reference :

[1] รู้จักกับ Kubernetes และวิธีติดตั้ง Kubernetes ด้วย CoreOS (ตอนที่ 1 Master Node) : https://sysadmin.psu.ac.th/2017/05/17/setup-kubernetes-coreos-section-1/

[2] วิธีติดตั้ง Kubernetes ด้วย CoreOS (ตอนที่ 2 Worker Node) : https://sysadmin.psu.ac.th/2017/05/27/setup-kubernetes-coreos-section-2/

[3] CoreOS -> Deploy Add-ons : https://coreos.com/kubernetes/docs/latest/deploy-addons.html

 

Share the Post:

Related Posts

ทำความรู้จักกับ Outlook บนเว็บ

Post Views: 5 Outlook เป็นเครื่องมือจัดการอีเมลและปฏิทินที่ทรงพลัง ซึ่งช่วยให้คุณมีระเบียบและเพิ่มความสามารถในการทำงาน ด้วยอินเทอร์เฟซที่ใช้งานง่าย คุณสามารถจัดการกล่องขาเข้าของคุณ นัดหมาย และทำงานร่วมกับเพื่อนร่วมงานได้อย่างง่ายดาย ฟีเจอร์ที่แข็งแกร่งของ Outlook รวมถึงแม่แบบอีเมลที่ปรับแต่งได้ ความสามารถในการค้นหาขั้นสูง และการผสานรวมที่ไร้รอยต่อกับแอปพลิเคชัน Microsoft Office อื่นๆ ไม่ว่าคุณจะเป็นมืออาชีพที่ยุ่งอยู่หรือเป็นนักเรียนที่ต้องจัดการกับภารกิจหลายอย่าง Outlook

Read More

[บันทึกกันลืม] JupyterHub Authenticated with OIDC

Post Views: 36 ต่อจากตอนที่แล้ว [บันทึกกันลืม] JupyterHub ด้วย Docker คราวนี้ ถ้าต้องการให้ ยืนยันตัวตนด้วย OpenID เช่น PSU Passport เป็นต้น ก็ให้ทำดังนี้ ในไฟล์ jupyterhub_config.py ใส่

Read More