• วิธีทำให้โปรไฟล์บน Google Scholar เป็น Public


    Google Scholar เป็นบริการหนึ่งของ Google ทำให้เรามีโปรไฟล์  “อีกช่องทางหนึ่ง” เพื่อแสดงผลงานที่ได้รับการเผยแพร่ หรือตีพิมพ์ในที่ต่าง ๆ  อ่านเพิ่มเติม https://scholar.google.com/intl/en/scholar/about.html ปัญหาอยู่ที่ว่า ในการสร้างครั้งแรกโปรไฟล์ (Profile) ของท่าน จะยังไม่ Public หมายความว่า จากหน้า Google จะค้นหาไม่เจอ Google Scholar Profile ของท่านนั่นเอง ( พอดีมีอาจารย์ท่านหนึ่งถามมา เห็นว่าเป็นประโยชน์ จึงเขียนบันทึกนี้ไว้ให้ ) วิธีการทำให้เป็น Public Profile จากหน้า Profile ของท่าน คลิกที่รูป ดินสอ (Edit) ด้านหลังชื่อ คลิก Make my profile public แล้วคลิกปุ่ม Save แต่ต้องรอสักหน่อย เคยอ่านเจอมาว่า ใช้เวลาประมาณ 4 weeks กว่าจะค้นหาบน Google เจอ

    >> Read More <<

  • ELK #07 LogStash


    จากที่ได้กล่าวถึงมายาวนานในเรื่อง ELK  และ  ELK #02 ที่ได้กล่าวถึงการติดตั้ง LogStash ไว้เบื้องต้น ในบทความนี้จะมาลงลึก ถึงกระบวนการทำงานของ LogStash ซึ่งเป็นส่วนสำคัญในการเปลี่ยนข้อมูล Unstructured ให้เป็น Structured ตอนนี้ เราจะทำงานใน /etc/logstash/conf.d/ Simple input – output plugin สร้างไฟล์ 01-input-file.conf มีเนื้อหาดังนี้ input { file { path => [“/tmp/input.txt”] mode => “tail” } } ในส่วนนี้ เป็นการกำหนดว่า ให้ LogStash อ่านไฟล์ /tmp/input.txt โดยให้อ่านบรรทัดล่าสุด (ต่อจาก Checkpoint ก่อนหน้า) เข้ามา โดยถ้าไม่กำหนด mode => “tail” ระบบจะอ่านไฟล์ก็ต่อเมื่อ มีการสร้างไฟล์ใหม่เท่านั้น สร้างไฟล์ 98-output-file.conf มีเนื้อหาดังนี้…

    >> Read More <<

  • pGina fork 3.9.9.12 configuration


    pGina 3.9.9.12 ส่ง RADIUS accounting ได้ และทำ option Remove account and profile after logout ได้ และ ปุ่ม Shutdown ก็ log off user ให้ด้วย (โดยตั้งค่าที่ Local Machine Plugin จะมีให้ ติ๊ก เลือก Notification เพิ่มมาอีกอัน) นอกจากนี้ก็มีเพิ่ม plugins อีกหลายตัว พร้อมแก้บั๊ก ที่น่าสนใจคือ scripting plugin ทำให้ customize ได้มากขี้น แต่ผู้เขียนบทความนี้ยังไม่ได้ลอง เวอร์ชั่น 3.9.9.12 ดาวน์โหลดได้จาก http://mutonufoai.github.io/pgina/index.html การตั้งค่าสำหรับทำเป็น Windows Authentication ในเครื่องคอมที่เป็น Windows 10 ผมได้ทำ screen…

    >> Read More <<

  • Fully Shut Down Windows 10


    ทดสอบ Windows 10 รุ่น 1803 พบว่า หากเราจะให้เป็นการ shutdown ที่สมบูรณ์ ไม่ใช่การ shutdown แบบ hibernate แล้วละก็เราจะต้องเปิด command line แบบ Run as Administrator แล้วทำ 2 คำสั่งนี้ powercfg.exe   /hibernate offshutdown  /s  /t  0 การทำ shutdown ที่สมบูรณ์ เมื่อเราต้องการจะบูตด้วยแผ่นCD SystemRescueCd (หรือ USB boot เป็น Linux) แล้วต้องการจะใช้คำสั่ง ntfs-3g เพื่อ mount แบบ Read Write ได้สำเร็จ เช่น ntfs-3g  /dev/sda1  /mnt/custom เป็นต้น การทำ shutdown ที่ไม่สมบูรณ์…

    >> Read More <<

  • อย่าเชื่อเครื่องมือมากเกินไป …


    เมื่อเดือนมีนาคม 2561 ผมได้ทำการทดสอบเครื่องมือเจาะระบบ “N”  (ใช้ทดสอบว่าระบบเป้าหมายมีช่องโหว่ใดให้โจมตีบ้าง) ภายใต้ภาระกิจ “Honeypot” เพื่อทดสอบว่า เครื่องมือดังกล่าว สามารถรับรองความปลอดภัยของระบบปฏิบัติการของเครื่องเซิร์ฟเวอร์ ก่อนที่จะอนุญาตให้เข้าถึงได้จากอินเตอร์เน็ตได้หรือไม่ *** การทดลองนี้อยู่ในสภาวะควบคุมที่รัดกุม เป็นระบบที่สร้างขึ้นมา แยกออกจากระบบอื่นที่อาจจะได้รับผลกระทบ และเป็นการทดลองเพื่อวัดความสามารถของเครื่องมือ ไม่ได้มุ่งโจมตีผู้ใด หรือระบบใด *** วิธีการทดสอบ จัดให้มีเครื่องทดสอบ ชื่อ honeypot.in.psu.ac.th อยู่บน VM และใช้เครื่องมือเจาะระบบ “N” ตรวจสอบ 2 ครั้ง โดยครั้งแรก (Baseline 01) เป็นการติดตั้งระบบปฏิบัติการ Ubuntu 16.04 LTS แบบ Default และ Update ให้เป็นปัจจุบันที่สุด แล้วรีบแจ้งให้ “N” ตรวจสอบ ครั้งที่ 2 (Baseline 02) ทำการติดตั้ง Web Server, PHP, MySQL และติดตั้งช่องโหว่อย่างง่ายที่พัฒนาขึ้นเอง…

    >> Read More <<

  • Kaggle – วิธีการใช้ K-Means บนข้อมูล iris


    ต่อจาก Kaggle – วิธีการใช้ Logistic Regression บนข้อมูล Iris ซึ่งเป็น Machine Learning แบบ Supervised Learning คราวนี้ ลองมาดูว่า ถ้า เราไม่รู้ว่า ข้อมูลแบบออกเป็นกี่กลุ่ม จะให้ Machine แบ่งกลุ่มได้อย่างไร หนึ่งในวิธีที่ได้รับความนิยมคือ K-Means Clustering มีคลิป ที่อยากให้ลองชม เพื่อความเข้าใจ StatQuest: K-Means Clustering เริ่มกันเลย 1. นำเข้าข้อมูล และ Package ที่ต้องการ import pandas as pd import numpy as np from sklearn.cluster import KMeans iris = pd.read_csv(‘../input/mydata2/4-iris.data’) data=iris.values X=data[:,[0,1]] Y = data[:,4]…

    >> Read More <<

  • Oracle Label Security


    Oracle Label Security (OLS) เป็นส่วนขยายของเทคโนโลยี Virtual Private Database (VPD) ซึ่งเริ่มนำมาใช้ตั้งแต่ Oracle 8i  OLS อนุญาตให้มีการควบคุมการเข้าถึงลงในแถวต่างๆ ตามป้ายกำกับที่ระบุ ฟังก์ชันการทำงานที่คล้ายคลึงกันสามารถทำซ้ำโดยใช้ Fine Grained Access Control (FGAC) แต่ OLS ให้โซลูชันที่ง่ายกว่าสำหรับการรักษาความปลอดภัยระดับแถว (row-level security) ในบทความนี้ฉันจะนำเสนอตัวอย่างง่ายๆของการกำหนดค่า OLS ตั้งค่าฐานข้อมูล หากไม่ได้เลือกตัวเลือก Label Security เมื่อครั้งติดตั้ง Oracle Database สามารถเรียกตัวติดตั้งและเลือกตัวเลือก Label Security เพิ่มเติมได้ภายหลัง เข้าระบบด้วยบัญชีผู้ใช้ Oracle เปิด terminal พิมพ์ dbca (Database Server เป็น Linux) เมื่อได้ Welcome Screen คลิก Next ที่หน้า…

    >> Read More <<

  • WordPress new editor


    อีกไม่นาน WordPress เวอร์ชั่นถัดไป จะใช้ Editor ชื่อ Gutenberg เป็น default editor แทน โดยขยับให้ editor แบบเดิมไปเป็น plugin ชื่อ Classic editor ครับ วันนี้ก็ลองใช้ editor ใหม่นี้ และโพสต์เพจนี้ดูว่าใช้ยากมั้ย เมื่อ upgrade WordPress เป็น 4.9.8 ก็จะพบเพจเชิญชวน และ คำแนะนำ หน้าตา editor ก็ ประมาณนี้  ตัวเลือกก็เป็น ปุ่มเปิด/ปิด ด้วยเครื่องหมาย สามเหลี่ยม เพื่อเปิดรายการมาให้เลือก เช่น categories ที่ต้องการ เมื่ออยู่ที่แท็บ document แต่ถ้า cursor วางอยู่ในข้อความ จะย้ายไปที่แท็บ Block จะเห็น ตัวเลือกอีกชุด น่าจะใช้งานได้ดีกว่าแบบเดิม

    >> Read More <<

  • วิธีเอา Boxbe ออกไปจากชีวิตของคุณ


    Boxbe เป็น Free Service ที่พยายามจะจัดการกับ Spam โดยอยู่บนสมมุติฐานว่า ผู้ที่ไม่อยู่ใน Contact ของเรา หรือ อยู่ใน Guest List นั้น มีแนวโน้มจะเป็น Spam เมื่อมีการส่ง email จากกลุ่มนี้ ก็จะถูกเอาไปอยู่ในกล่องที่เป็น Wait List จึงทำให้กล่อง Inbox ซึ่งเราจะอ่าน email เป็นประจำนั้น มาจากคนที่อยู่ใน Contact เท่านั้น   โดยความตั้งใจ ดูดี แต่ …   คนใน Contact ของเรา เป็น Subset ของ email universe ที่เราจะต้องติดต่อด้วย สำหรับคนที่ไม่ได้ทำธุรกิจติดต่อกับคนที่ไม่เคยรู้จักมาก่อน หรือติดต่อเฉพาะคนในองค์กร ก็พอจะไปได้ แต่ในความเป็นจริง ไม่ใช่ทุกคนที่ต้องการอย่างนั้น อีกปัญหาหนึ่งคือ ก่อนหน้านี้ เมื่อมีคนที่ไม่ได้อยู่ใน Contact…

    >> Read More <<