Configuration of TCP/IP with SSL and TLS for Database Connections

สิ่งที่ต้องเตรียม Oracle Database Server ในตัวอย่างนี้ใช้ Oracle database บน Oracle Enterprise Linux 7 Oracle Database Client  ในตัวอย่างใช้ Windows Server 2008 R2 เริ่ม ฝั่ง Server เข้าระบบด้วยบัญชีผู้ใช้ oracle หรือบัญชีที่เป็นเจ้าของ Oracle Database เปิด terminal สร้าง Oracle Wallet ด้วยคำสั่ง mkdir -p /u01/app/oracle/wallet ต่อด้วย orapki wallet create -wallet “/u01/app/oracle/wallet” -pwd WalletPasswd123 -auto_login_local โดย -pwd WalletPasswd123 ตัว WalletPasswd123 คือรหัสผ่านที่ใช้ป้องกันการเข้าถึงข้อมูลต่างๆ ใน wallet กฎการตั้งมีอยู่คือ ยาวอย่างน้อย 8 ตัวอักษร ไม่จำกัดความยาว จำเป็นต้องตั้งให้ตัวเลขผสมตัวอักษร สร้าง Certificate และใส่เข้าไปใน wallet ด้วยคำสั่ง orapki wallet add -wallet “/u01/app/oracle/wallet” -pwd WalletPasswd123 \ -dn “CN=`hostname`” -keysize 1024 -self_signed -validity 3650 ตรวจสอบด้วยคำสั่ง orapki wallet display -wallet “/u01/app/oracle/wallet” -pwd WalletPasswd123 ได้ผลลัพธ์ประมาณ Oracle PKI Tool : Version 12.1.0.2 Copyright (c) 2004, 2014, Oracle and/or its affiliates. All rights reserved. Requested Certificates: User Certificates: Subject: CN=reis.psu.ac.th Trusted Certificates: Subject: CN=reis.psu.ac.th Export Certificate เพื่อนำไปใช้กับเครื่อง Oracle Client ด้วยคำสั่ง orapki wallet export -wallet “/u01/app/oracle/wallet” -pwd WalletPasswd123 \ -dn “CN=`hostname`” -cert /tmp/server-certificate.crt ตรวจสอบแฟ้มที่ export ไปด้วยคำสั่ง cat /tmp/server-certificate.crt ได้ผลลัพธ์ประมาณว่า —–BEGIN CERTIFICATE—– MIIBoTCCAQoCAQAwDQYJKoZIhvcNAQEEBQAwGTEXMBUGA1UEAxMOcmVpcy5wc3UuYWMudGgwHhcN MTgwMTA5MDcyNTA2WhcNMjgwMTA3MDcyNTA2WjAZMRcwFQYDVQQDEw5yZWlzLnBzdS5hYy50aDCB nzANBgkqhkiG9w0BAQEFAAOBjQAwgYkCgYEAj4x2/NviDaTlXuEJt0kZARY5fHiT2SiVX+a18hai I0stoUhKKefjOCgB85iuqjIk0rvcGXI0KXkbenTy2t40A+qGxB04mBhCLKaKeIe67BZKR6Zyw1dd oaesoaWChC01b+IW1X5WWtC53UxpIZQ4Zktj41sLGUnarIr9+9HFwncCAwEAATANBgkqhkiG9w0B AQQFAAOBgQAqSCF2Y8uyM4rSQHUC8MKEl3Ia3NJKnigMOUzDc2fP7grSaoeuQ4NvIntTD+s+IT5Y EpLVND4kSHFTwGRq0Py/ig8ybXZCXfHtvNZh7ZGziL/sYt5/8xYi/tOBKwVanBTUaseKIMovtmd7 UyoOKrX8YBoFsB3UPRLudmFsksXRXw== —–END CERTIFICATE—– ฝั่ง Client เข้าระบบด้วยบัญชีผู้ใช้ administrator เปิด cmd แล้วสร้าง wallet ด้วยคำสั่ง mkdir c:\app\oracle\wallet สร้าง Certificate ด้วยคำสั่ง orapki wallet add -wallet “c:\app\oracle\wallet” -pwd WalletPasswd123 -dn “CN=%computername%” -keysize 1024 -self_signed -validity 3650 โดย WalletPasswd123 คือพาสเวิร์ดที่ใช้ล็อค wallet ไม่จำเป็นต้องเหมือนกับของ Server ตรวจสอบด้วยคำสั่ง orapki wallet display -wallet “c:\app\oracle\wallet” -pwd WalletPasswd123 ได้ผลลัพธ์ประมาณว่า Oracle PKI Tool : Version

Read More »

วิธีขยาย Disk ใน VM/Virtualbox แล้วให้ Ubuntu

ในกรณีใช้ VMWare/VirtualBox  บางครั้งเราต้องการขยาย Disk ให้ Ubuntu มีพื้นที่มากขึ้น เดิมมี Disk 100 GB แก้ไขให้เป็น 300 GB Login เข้าไป ดูข้อมูล ด้วยคำสั่ง df -h จะเห็น 100 GB อยู่ แล้ว sudo reboot ลอง Login ใหม่ แล้วใช้คำสั่ง sudo su fdisk -l ก็จะ ขนาดเพิ่มเป็น 300 GB จากนั้นใช้คำสั่ง growpart /dev/sda 1 resize2fs /dev/sda1 แล้วลอง df -h ก็จะพบว่า ได้ขนาดมาเป็น 300 GB แล้ว

Read More »

Windows CRLF to Unix LF Issues in Cygwin Shell Script

เมื่อเรารัน shell script ของโปรแกรม Cygwin for Windows ซึ่งมีการเขียนคำสั่งไปตัดเอาข้อความผ่านคำสั่ง (Command Line) ของ Windows มาใส่ในตัวแปรของ shell script เช่น ในตัวอย่างนี้คือคำสั่ง ipconfig เมื่อได้ข้อความที่ต้องการมาเราจะได้ \r แถมมาให้ด้วยต่อท้าย เพราะ Windows style line ending จะมี CRLF (\r\n)  ในขณะที่ Linux style line ending จะมี LF (\n) เท่านั้น น่าแปลกใจมากว่า เราเคยรัน shell script นี้ใน Windows 7 ใช้งานได้ แต่พอเป็น Windows 10 build 1709 มันรันไม่ได้   ปัญหา เมื่อเปิด Cygwin Terminal ขึ้นมา จะได้เป็น bash shell ในไฟล์ test.sh ดังตัวอย่างข้างล่างนี้ เมื่อสั่งรัน จะพบว่าพบข้อผิดพลาด ตัวแปร ZONEX จะไม่มีค่า ซึ่งจริง ๆ จะต้องได้คำว่า zone1 $ cat test.sh #!/bin/bash DHCPSERVER=$(ipconfig /all | grep -i “DHCP Server” | cut -d: -f2 | xargs) MAC=$(ipconfig /all | grep -A4 -i “^Ethernet Adapter Ethernet” | tail -1 | cut -d\: -f2 | tr – : | xargs) ZONEX=$(curl -s http://${DHCPSERVER}/dhcpd.txt | grep -i ${MAC} | awk ‘{print $2}’ | cut -d’_’ -f1) echo “DHCP SERVER is ${DHCPSERVER}” echo “MAC is ${MAC}” echo “Zone is ${ZONEX}” สั่งรันดูผลลัพธ์ด้วยคำสั่ง bash test.sh $ bash test.sh DHCP SERVER is 192.168.6.150 MAC is 50:7B:9D:30:2E:4B Zone is ผมก็ตรวจสอบด้วยวิธีการ debug คือ เพิ่ม -x ดังตัวอย่างนี้ $ bash -x test.sh ++ ipconfig /all ++ grep -i ‘DHCP Server’ ++ cut -d: -f2 ++ xargs + DHCPSERVER=$’192.168.6.150\r’ ++ ipconfig /all ++ grep -A4 -i ‘^Ethernet Adapter Ethernet’ ++ tail -1 ++ cut -d: -f2 ++ tr

Read More »

วิธี upgrade Node.js ใน Bash ของ Windows 10 ให้เป็นรุ่นปัจจุบัน

ปัญหาคือ บน Windows 10 เราสามารถใช้ Windows Subsystem for Linux (WSL) หรือ Bash Shell ได้ ซึ่งจริงๆมันก็คือ Ubuntu 16.04.3 แต่ว่า เวลาจะใช้งาน Node.js ติดตั้งพวก Firebase, Angular อะไรพวกนี้ จะทำไม่ได้ เพราะรุ่นที่ให้มามันเก่ามาก วิธีการคือ (Reference: https://nodejs.org/en/download/package-manager/#debian-and-ubuntu-based-linux-distributions) ใช้คำสั่งต่อไปนี้ curl -sL https://deb.nodesource.com/setup_8.x | sudo -E bash – apt-get install -y nodejs ก็เรียบร้อย

Read More »

วิธีติดตั้งระบบ Cyrus IMAP Cluster (Cyrus Murder)

ต่อจาก Mail Clustering with Cyrus Murder และ How Cyrus Murder (Mail Clustering) work? คราวนี้ มาลง รายละเอียดทีละขั้นตอน ระบบ Cyrus IMAP Cluster หรือ Cyrus Murder นี้ ประกอบด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ ขั้นต่ำ 3 เครื่อง คือ frontend, backend, mupdate ต่อไปนี้ จะเป็นวิธีการทำ แต่ละเครื่อง   Prerequisite ทั้งหมดเป็น Ubuntu 16.04 Server, ทำการ update และ upgrade แล้ว และ เข้า SSH ด้วย user ที่สามารถ sudo ได้ และรุ่นของ cyrus-imapd, cyrus-murder ที่ใช้เป็น 2.4.18 ทุกเครื่อง มี user ชื่อ ‘cyrus’ และ ทำการตั้งรหัสผ่านไว้เรียบร้อย เฉพาะเครื่องที่เป็น Backend จะต้องมี uesr ชื่อ ‘mailproxy’ และทำการตั้งรหัสผ่านไว้เรียบร้อย ด้วยอีก 1 คน ในที่นี้ จะใช้ pam-ldap ติดตั้งใน Backend ทุกเครื่อง MUPDATE ( mupdate1.example.com ) ติดตั้ง cyrus-murder ด้วยคำสั่ง sudo apt install cyrus-murder cyrus-common sasl2-bin ระบบจะติดตั้งตั้งโปรแกรมที่เกี่ยวข้อง รวมถึง postfix ด้วย ให้เลือกเป็น No configuration ไป แก้ไขไฟล์ /etc/cyrus.conf ใน Section “SERVICES” ประมาณบรรทัดที่ 62 ให้ uncomment เพื่อได้บรรทัดนี้ mupdate       cmd=”mupdate -m” listen=3905 prefork=1 จุดสำคัญคือ mupdate -m คือ ตัวที่จะบอกว่า ทำหน้าที่เป็น MUPDATE Master แก้ไขไฟล์ /etc/imapd.conf เพื่อกำหนด admins ในที่นี้ให้ใช้ชื่อ cyrus โดยการ uncomment ประมาณบรรทัดที่ 55 และแก้ sasl_pwcheck_method เป็น saslauthd sasl_pwcheck_method: saslauthd sasl_mech_list: PLAIN admins: cyrus จากนั้น start ระบบขึ้นมา จะพบว่ามีการเปิด port 3905 รออยู่ sudo /etc/init.d/cyrus-imapd start netstat -nl | grep 3905 แก้ไขไฟล์ /etc/default/saslauthd บรรทัดที่ 7 START=yes แล้ว start saslauthd sudo /etc/init.d/saslauthd start BACKEND ( backend01.example.com) ติดตั้ง sudo apt install cyrus-imapd cyrus-common cyrus-clients sasl2-bin แก้ไขไฟล์ /etc/imapd.conf โดยเพิ่มบรรทัดต่อไปนี้ไว้ท้ายไฟล์ #SASL sasl_pwcheck_method: saslauthd sasl_mech_list: PLAIN # MUPDATE servername: backend01.example.com admins: cyrus    proxyservers:

Read More »