วิธีการใช้ Google Classroom อย่างละเอียด
วิธีการใช้งาน Google Classroom (Domain school.psu.ac.th): http://www.youtube.com/playlist?list=PL8SV5naoGqdWPYXjJwAl5Q8zCBaKiL6XA
วิธีการใช้งาน Google Classroom (Domain school.psu.ac.th): http://www.youtube.com/playlist?list=PL8SV5naoGqdWPYXjJwAl5Q8zCBaKiL6XA
ปิด Google Sheets : GASWS1 เมนู Tools > Script Editor… เมนู File > New > Script File ตั้งชื่อ: myscript6 สร้าง function MailMerge4() ตามนี้ function MailMerge4() { var ss = SpreadsheetApp.getActiveSpreadsheet(), SalarySheet=SpreadsheetApp.setActiveSheet(ss.getSheetByName(“Salary”)), TemplateID=’1bjpQnJikYMGYNaJQhetpZpkHyjI7iqBqDufprzMSo4k’, header = “A1:G1″, data=”A2:G6”, dataRows = SalarySheet.getRange(data).getValues(), headerRow = SalarySheet.getRange(header).getValues(), numColumns = SalarySheet.getRange(header).getNumColumns(), emailaddress= “”, subject = “”, docUrl = “”; for (var i=0 ; i < dataRows.length ; i++) { emailText=””; subject = “[ลับ] กองคลัง : แจ้งการโอนเงินให้คุณ ” + dataRows[i][0] + ” ” + dataRows[i][1]; var id =DriveApp.getFileById(TemplateID).makeCopy(subject).getId(), doc=DocumentApp.openById(id), docBody=doc.getBody(); for (var j = 0 ; j < numColumns -1 ; j++) { docBody.replaceText(‘{‘ + headerRow[0][j] + ‘}’ , dataRows[i][j]); } emailaddress=dataRows[i][2]; doc.addViewer( emailaddress); docUrl=doc.getUrl(); doc.saveAndClose(); var attachment = DocumentApp.openById(id); MailApp.sendEmail( emailaddress, subject , “เปิดอ่านเอกสารลับได้ที่ \n” + docUrl ); try { dataRows[i][numColumns-1] = new Date(); } catch (e) { dataRows[i][numColumns-1] = e.message; } } SalarySheet.getRange(data).setValues(dataRows); } เมนู File > Save หรือ กดปุ่ม Ctrl+s เมนู Run > MailMerge4 สร้าง function MailMerge5() ตามนี้ function MailMerge5() { var ss = SpreadsheetApp.getActiveSpreadsheet(), SalarySheet=SpreadsheetApp.setActiveSheet(ss.getSheetByName(“Salary”)), TemplateID=’1WzzAwF5cDtQD0kcrLKRdP0ZO6-6MCqc_VXRUxzgq_gI’, header = “A1:H1″, data=”A2:H6”, dataRows = SalarySheet.getRange(data).getValues(), headerRow = SalarySheet.getRange(header).getValues(), numColumns = SalarySheet.getRange(header).getNumColumns(), emailaddress= “”, subject = “”, docUrl = “”; for (var i=0 ; i < dataRows.length ; i++) { emailText=””; subject = “[ลับสุดยอดดดดด] กองคลัง :
Ransomware หรือ โปรแกรมเรียกค่าไถ่ไฟล์ต่างๆ โดยการเข้ารหัสไฟล์เหล่านั้น ทำให้ไม่สามารถเปิดใช้งานได้อีก นอกจากจะยอมเสียค่าไถ่ให้กับผู้ร้ายด้วยเงินสกุล Bitcoin โปรแกรมเหล่านี้จะมาจากการติดตั้ง หรือถูกหลอกให้ติดตั้ง ผ่านทางเว็บไซต์ “อโคจร” ต่างๆ Software เถื่อน ละเมิดลิขสิทธิ์ทั้งหลาย และที่มีบ่อยมากคือ มาจาก “จดหมายหลอกลวง (Phishing)” ซึ่งทำให้ติดเชื้อได้อย่างง่ายดาย ข้อมูลเพิ่มเติม https://www.thaicert.or.th/alerts/user/2015/al2015us001.html เมื่อติด หรือ โดนเรียกค่าไถ่ เรียกได้ว่า ยากมากหรือแทบเป็นไปไม่ได้ที่จะกู้คืนโดยการ Decrypt หรือถอดรหัสกลับคืน มีวิธีการเดียวที่ทำได้เลยคือ “กู้คืนจากไฟล์สำรองไว้” บนระบบปฏิบัติการ Microsoft Windows เอง ก็สามารถทำได้ โดยผู้ใช้จะต้อง “ตั้งค่าการสำรองข้อมูล” ไว้ก่อน จึงจะสามารถกู้คืนได้ แต่หากเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องนั้นเสียหาย ก็จะไม่สามารถกู้คืนได้อีกเลย แต่ยังมีวิธีการ “สำรองและกู้คืน” ที่ง่าย ปลอดภัย และแม้ว่าเครื่องคอมพิวเตอร์จะเสียหายอย่างไร ก็จะสามารถ “กู้คืนข้อมูลได้” นั่นคือการใช้งาน Google Drive ในการสำรองข้อมูล โดยผู้ที่มี Google Account หรือ Gmail สามารถใช้งานได้ทันที โดยมีพื้นที่ให้ 15 GB (รวมกับการเก็บ email) ส่วนผู้ใช้ในมหาวิทยาลัยสงขลานคริทนร์ จะได้ใช้ Google Apps for Education ซึ่งมีพื้นที่ในการจัดเก็บ “Unlimited” หรือไม่มีขีดจำกัดเลยทีเดียว (เบื้องต้นจะเห็นพื้นที่จัดเก็บ 10 TB — 10,000 GB) Google Drive เป็นพื้นที่จัดเก็บข้อมูลบนก้อนเมฆ หรือ Cloud Storage ผู้ใช้ของ Google Account สามารถเข้าถึงได้ที่ https://drive.google.com เมื่อทำการลงชื่อเข้าใช้งาน (Sign In) แล้วก็จะสามารถมองเห็นข้อมูลบนระบบ สามารถสร้าง Folder และ Upload ไฟล์ขึ้นไปเก็บได้ และสามารถเข้าถึงได้จากทั้ง เครื่องคอมพิวเตอร์ และ Smartphone ได้จากทุกแห่งทั่วโลก ดังภาพที่ 1 (โดยต้องมีระบบ Internet เข้าถึงนะ) ภาพที่ 1: Google Drive บนระบบ Google Apps for Education ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ในที่นี้ จะแสดงวิธีการ สร้างโฟล์เดอร์ชื่อว่า “เอกสารสำคัญ” ไว้บน Google Drive เพื่อใช้ในการสำรองไฟล์สำคัญไว้ ขั้นตอนคือ คลิกที่ New > Folder แล้วตั้งชื่อว่า “เอกสารสำคัญ” แล้วคลิกปุ่ม Create ดังภาพที่ 2 ภาพที่ 2: สร้างโฟล์เดอร์ชื่อว่า “เอกสารสำคัญ” ไว้บน Google Drive ส่วนการทำงานเพื่อ Backup ข้อมูลบนเครื่องคอมพิวเตอร์ไปเก็บไว้บนระบบ Google Drive อัตโนมัติ ทำได้โดยติดตั้งโปรแกรม “Google Drive” บนเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วตั้งค่าให้ Sync ข้อมูลกับโฟลเดอร์ “MyGoogleDrive” ใน My Documents ของเครื่องคอมพิวเตอร์ ดังวิธีการต่อไปนี้ Google Drive สามารถดาว์นโหลดได้จาก https://www.google.com/drive/download/ เมื่อติดตั้งเรียบร้อยแล้วให้ลงชื่อเข้าใช้ และคลิก Next ไปเรื่อยๆ ดังภาพที่ 3 ภาพที่ 3: คลิก “ถัดไป” จนถึงหน้าจอสุดท้าย หน้าจอสุดท้าย คลิก “การตั้งค่าขั้นสูง” ดังภาพที่ 4 ภาพที่ 4: คลิก “การตั้งค่าขั้นสูง” คลิก “เปลี่ยน” แล้วสร้าง MyGoogleDrive ไว้ใน My Documents ดังภาพที่ 5 ภาพที่ 5: สร้าง MyGoogleDrive ไว้ใน My Documents ต่อไป เลือก
เคยเจอปัญหาเหล่านี้เมื่อต้องไปใช้งานเครื่องอื่นที่ไม่ใช่เครื่องตนเองหรือไม่ ? จะเข้าเว็บไซต์ที่เคย Bookmark เอาไว้ในเครื่องตนเอง ก็ทำไม่ได้ ทำไงดีรหัสผ่านมากมาย เคยให้เว็บจำไว้ให้ แล้วตอนนี้จะใช้งานยังไงหล่ะ สภาพแวดล้อมไม่คุ้นชินเมื่อไปใช้เครื่องอื่น ปัญหาเหล่านี้จะหมดไป เมื่อใช้ Google Chrome และ ทำการ Sign In เอาไว้ คำเตือน: ผู้ที่จะใช้วิธีการนี้ ควรทำระบบ 2-Step Verification ไว้ก่อน เพื่อป้องกันรหัสผ่านรั่วไหล และป้องกัน กรณีมี Keyboard Logger ฝังตัวเพื่อดักการพิมพ์รหัสผ่านจาก Keyboard ซึ่งแม้จะมีผู้ร้ายดักรหัสผ่านไปได้ ก็จะติดขั้นตอนการยืนยันตัวตนอีกชั้นของ 2-Step Verification กรณีผู้ใช้ Google Apps ขององค์กร (ทั้ง For Education และ For Business) ระบบจะทำการสร้าง Profile แยกให้ แต่ถ้าเป็น Google Account ของ Gmail นั้น จะต้องทำการ Create Profile เอง แล้วจึง Sign In เข้าไป มิฉะนั้นข้อมูลของเราจะไปปะปนกับของผู้ใช้ทั่วไป ซึ่งไม่ปลอดภัยอย่างยิ่ง วิธีการนี้ ผู้ใช้ต้อง “Remove This Person” ทุกครั้งเมื่อจบการใช้งาน (จะอธิบายต่อไป) วิธีการใช้งาน เปิด Google Chrome ขึ้นมา ด้านขวามือบน ใกล้ๆ Tools Box คลิกรูป “คน” ดังภาพ แล้วคลิก Sign in to Chrome ใส่ Google Account (Gmail Account) หรือ Google Apps Account (Google Apps For Education/Business) และรหัสผ่าน จากนั้นคลิก Sign In สำหรับท่านที่ทำ 2-Step Verification จะพบหน้าต่างให้ใส่ Code ก็ให้ดำเนินการตามปรกติไป สำหรับบัญชี Google Apps ขององค์กร จะแสดงหน้าต่างให้เลือกว่า จะสร้าง Profile ใหม่หรือไม่ แนะนำให้คลิกปุ่ม Create a new profile ต่อไป คลิกปุ่ม “Ok, got it” ใช้เวลาไม่นาน ระบบจะ Sync ข้อมูล Apps, Autofill, Bookmark, Extensions, History, Password, Settings, Themes, Opentabs มาให้ (สามารถเลือกได้ว่าจะ Sync อะไรมาบ้างได้) และทำการเข้ารหัส รหัสผ่านไว้ด้วย (เลือกได้ว่าจะเข้ารหัสด้วย Google Credential หรือจะสร้าง Paraphrase แยกต่างหาก — ในที่นี้ เลือกเป็น Google Credential) คราวนี้ ก็จะสามารถใช้งานได้เหมือนนั่งอยู่ที่เครื่องตนเองอีกทั้งวิธีการนี้ จะสามารถใช้งานได้ทั้งบน Smartphone และ Tablet ได้ด้วย ทำให้เมื่อ Save Bookmark เอาไว้บนคอมพิวเตอร์ ก็สามารถไปเปิดดูได้บน Tablet ได้ทันที เมื่อเลิกใช้งาน ให้ทำตามข้อ 2. แล้วคลิก Switch User แทน จากนั้น ที่รูป Profile ด้านมุมขวา คลิก Remove this person คลิก Remove this person อีกครั้งเพื่อยืนยัน เท่านี้ ข้อมูลก็จะปลอดภัยแล้ว 😉 หากต้องการปรับแต่งเรื่อง สิ่งที่ต้องการจะ Sync
ผู้เขียนขออธิบายเป็นภาษาบ้านๆ ตามความเข้าใจของตนเองจากการได้เข้าร่วมอบรบ AWS Essentials ในงาน WUNCA ครั้งที่ 30 ดังนี้ Amazon Web Services คือ การบริการเครื่องคอมพิวเตอร์บนกลุ่มเมฆ (Cloud Computing) เพื่อใช้งานในด้านต่างๆ เช่น Web Server, Database Server, File Server ฯลฯ ซึ่งของบริษัทอเมซอนก็มีผลิตภัณฑ์หลายตัวที่ให้บริการในด้านต่างๆ ข้างต้น คือ