สามารถอ่านวิธีติดตั้ง NagiosQL บน Ubuntu 14.04 LTS ได้ที่
http://sysadmin.psu.ac.th/2014/07/23/nagiosql-ubuntu/
หลังจากการติดตั้งจะต้องมีการตั้งค่าให้สามารถควบคุม Nagios ได้ดังนี้
วิธีการตั้งค่า Nagiosql configuration
1) หลังจาก Login ให้ทำการเข้าไปแก้ไข config path ดังนี้
Administrator -> Config targets -> Configuration directories
Nagios base directory -> /etc/nagios3 Import Directory -> /etc/nagios3/conf.d Nagios command file -> /var/lib/nagios3/rw/nagios.cmd Nagios binary file -> /usr/sbin/nagios3 Nagios process file -> /var/run/nagios3/nagios3.pid Nagios config file -> /etc/nagios3/nagios.cfg
2) จากนั้นทำการ save config โดยการกดปุ่ม Save ตามรูป
3) หลังจากทำการ save จะปรากฎข้อความดังรูป
4) ทำการแก้ไขไฟล์ของ nagios ให้มาเรียก configuration ของ nagiosql (ยกเว้น nagios config, cgi config ที่ยังใช้ของ nagios อยู่ เนื่องจากเป็น config ของโปรแกรม nagios)
Tools -> Nagios config -> Nagios main configuration file
5) ทำการเพิ่มข้อความดังภาพ
... log_file=/var/log/nagios3/nagios.log cfg_file=/etc/nagiosql/contacttemplates.cfg cfg_file=/etc/nagiosql/contactgroups.cfg cfg_file=/etc/nagiosql/contacts.cfg cfg_file=/etc/nagiosql/timeperiods.cfg cfg_file=/etc/nagiosql/commands.cfg cfg_file=/etc/nagiosql/hostgroups.cfg cfg_file=/etc/nagiosql/servicegroups.cfg cfg_dir=/etc/nagiosql/hosts cfg_dir=/etc/nagiosql/services cfg_file=/etc/nagiosql/hosttemplates.cfg cfg_file=/etc/nagiosql/servicetemplates.cfg cfg_file=/etc/nagiosql/servicedependencies.cfg cfg_file=/etc/nagiosql/serviceescalations.cfg cfg_file=/etc/nagiosql/hostdependencies.cfg cfg_file=/etc/nagiosql/hostescalations.cfg cfg_file=/etc/nagiosql/hostextinfo.cfg cfg_file=/etc/nagiosql/serviceextinfo.cfg # Commands definitions #cfg_file=/etc/nagios3/commands.cfg # Debian also defaults to using the check commands defined by the debian # nagios-plugins package #cfg_dir=/etc/nagios-plugins/config # Debian uses by default a configuration directory where nagios3-common, # other packages and the local admin can dump or link configuration # files into. #cfg_dir=/etc/nagios3/conf.d ...
6) ทำการแก้ค่า check_external_command จาก 0 เป็น 1 ดังนี้
...
# EXTERNAL COMMAND OPTION
# This option allows you to specify whether or not Nagios should check
# for external commands (in the command file defined below). By default
# Nagios will *not* check for external commands, just to be on the
# cautious side. If you want to be able to use the CGI command interface
# you will have to enable this.
# Values: 0 = disable commands, 1 = enable commands
check_external_commands=1
...
7) จากนั้นทำการ save config โดยการกดปุ่ม Save ตามรูป
8) เนื่องจาก Nagios มี config ของตัวเองอยู่แล้ว ให้ทำการ Import Data ของ Nagios มาไว้ด้วยดังนี้
8.1) ทำการ Import Data จาก /etc/nagios3/conf.d ซึ่งได้ตั้งค่า Import directory ไว้แล้วตามข้อ 1)
Tools -> Data import -> Configuration Import
– จากนั้นทำการ กดปุ่ม Import ดังรูป
8.2) ทำการ Import Data จาก /etc/nagios-plugins/config ซึ่งต้องทำการตั้งค่า Import directory ใหม่ดังรูป
– จากนั้นทำการ กดปุ่ม Import ดังรูป
Administrator -> Config targets -> Configuration directories
– จากนั้นกลับไป Import Data อีกครั้งดังนี้
Tools -> Data import -> Configuration Import
– จากนั้นทำการ กดปุ่ม Import ดังรูป
9) จากนั้นทำการ Save ข้อมูลจากฐานข้อมูลทั้งหมดลง config file และทำการทดสอบ config และสั่ง Restart nagios ดังรูป
Tools -> Nagios control -> Check Written configuration files
10) ทดสอบเข้า web nagios เพื่อตรวจสอบผลการ Import configuration
การตั้งค่า Alert mail
1) ทำการแก้ไข Contact name : nagiosadmin
Alerting -> Contact data
2) ทำการเพิ่มข้อมูลดังรูป โดยรายละเอียกที่ต้องการให้ส่งสามารถเลือกได้ที่ Host command และ Service command สำหรับ profile default ของ nagiosadmin จะส่งทั้งหมด
การเพิ่ม Host
1) ทำการเพิ่มข้อมูล Host
Supervision -> Host
2) ทำการตั้งค่าทั่วไปและทำการเลือก Host Template ทำให้เราไม่ต้องตั้งค่าเยอะ เพราะจะ Inherite มาจาก Template
3) ทำการตั้งค่าในกรณีที่ต้องการแสดงข้อมูลเพิ่มเติมในกรณีเครื่องมีปัญหาให้ติดต่อใคร
4) จากนั้นทำ Save และทดสอบ เข้าไป Restart Nagios
Tools -> Nagios control -> Check Written configuration files
จะพบว่าในขั้นตอน Check configuration files มีข้อความฟ้องเป็น Warning ว่า Linux-Server ยังไม่มี Service ให้ทำการเพิ่ม Service ให้กับ Host ในขั้นตอนต่อไป
การเพิ่ม Service
1) ทำการเพิ่มข้อมูล Service ให้กับ Host ชื่อ Linux-Server
Supervision -> Services
2) ทำการตั้งค่าทั่วไปและทำการเลือก Service Template เพื่อดึงค่าต่าง (Monitor Period, Retry, Interval ฯลฯ) โดยเฉพาะเมื่อติดตั้ง NagiosGraph จะทำที่ Template ที่เดียวจะสามารถขึ้น Graph ให้กับทุก Service โดยไม่ต้องไปไล่ใส่ทุก Service
3) จากนั้นทำ Save และทดสอบ เข้าไป Restart Nagios
Tools -> Nagios control -> Check Written configuration files
จะพบว่าจะไม่มี Warning ฟ้องแล้ว ให้ลองใช้งานดูครับ ตัว NagiosQL จริง ๆ ก็คือเป็นแค่ Web ที่เขียน config แทนที่เราจะต้องแก้ไขด้วยมือ Function การใช้งานก็เหมือน Nagios ปกติแต่จะสบายกว่าในกรณีที่มีเครื่องเยอะ ๆ แล้วจะติดใจครับ ^ ^
Comments are closed.