ในช่วงที่ผ่านมาผู้เขียนได้รับมอบหมายให้พัฒนาเครื่องมือสำหรับมอนิเตอร์การใช้งานทรัพยากรต่างๆ บน Server ที่ให้บริการลูกค้า ทั้งในส่วน Memory CPU และ Disk โดยโจทย์คือพัฒนา Service ขึ้นมาตัวนึงด้วยเครื่องมือที่เราใช้งานกันอยู่แล้วคือ Visual Studio.NET ด้วยภาษ C# สำหรับอ่านทรัพยากรต่างๆ บน Server แล้วจึงเขียนค่าเหล่านั้นลงไฟล์ จากนั้นจะมีเครื่องมืออีกตัวเข้ามาอ่านไฟล์ดังกล่าวแล้วนำไปแสดงผลเป็นกราฟในรูปแบบที่ต้องการต่อไป
แต่ด้วยข้อจำกัด เราไม่สามารถหาหน่วยความจำทั้งหมดจาก PerformanceCounter โดยจะต้องดึงข้อมูลผ่านวิธีการอื่น นั่นคือการเรียกผ่าน Windows API Function และต้องประกาศ Structure เพิ่มเติมเพื่อให้รองรับข้อมูลที่ Windows API ส่งกลับมา ดังนี้
[StructLayout(LayoutKind.Sequential, CharSet = CharSet.Auto)]
private class MEMORYSTATUSEX
{
public uint dwLength;
public uint dwMemoryLoad;
public ulong ullTotalPhys;
public ulong ullAvailPhys;
public ulong ullTotalPageFile;
public ulong ullAvailPageFile;
public ulong ullTotalVirtual;
public ulong ullAvailVirtual;
public ulong ullAvailExtendedVirtual;
public MEMORYSTATUSEX()
{
this.dwLength = (uint)Marshal.SizeOf(typeof(MEMORYSTATUSEX));
}
}
[return: MarshalAs(UnmanagedType.Bool)]
[DllImport("kernel32.dll", CharSet = CharSet.Auto, SetLastError = true)]
static extern bool GlobalMemoryStatusEx([In, Out] MEMORYSTATUSEX lpBuffer);
เมื่อ create user ใหม่ใน windows server เราจะต้องตั้ง password ตามกฏที่ windows server กำหนดมาให้ ถ้าตั้งไม่ตรงตามกฎ windows server จะไม่ยอมให้สร้าง user อย่างเช่นสร้าง user ชื่อ sysadmin แล้วตั้ง password ว่า sysadmin123 จะไม่สามารถสร้าง user ได้ ซึ่งจะมี error ขึ้นดังรูป
เมื่อเข้ามาในหน้าจอเมนู System ให้คลิกเลือกเมนูด้านซ้ายที่ชื่อว่า “Storage” (รอเครื่องเราโหลดข้อมูลสักครู่นะ) จากนั้นคลิกเลือกตรงด้านขวาของหน้าจอ เลือกข้อความ “Configure Storage Sense or run it now“
จากนั้นจะเข้าสู่หน้าจอ Configure Storage Sense or run it now ให้เลือก “Turn on” ในส่วนของ “Storage Sense“
ขั้นตอนสุดท้ายให้เลือกติ๊กถูกด้านหน้าข้อความ “Delete temporary files that my apps aren’t using” และเลือกระบุตามความพอใจได้เลยว่าต้องการให้ระบบทำการลบไฟล์ในระยะเวลาใด โดยค่าเริ่มต้นจะอยู่ที่ 30days อยู่แล้วนะ
เพียงเท่านั้นก็ถือเป็นอันเสร็จสิ้นการตั้งค่าบน Windows 10 กันแล้วนะทุกคน มันดีจริงๆ อยากให้ทุกคนที่อยากลอง ก็ลองไปเล่นดูนะ สั้นๆ ง่ายๆ ไม่ยุ่งยากหรอก สำหรับ Blog นี้ก็ขอจบไว้เพียงเท่านี้ หวังว่าจะเป็นประโยชน์กับท่านผู้อ่านทุกๆท่านน๊าาาา
Blog นี้เราจะมากำหนดรูปแบบการแสดงผล Column ของ SharePoint List กันนะคะ ซึ่งทำได้ง่าย ๆ สบาย ๆ อีกแล้วค่า โดยการกำหนดรูปแบบให้กับ Column ของ SharePoint List นั้น จะใช้ JSON text format นะคะ