มาทำความรู้จักกับพื้นฐานการใช้งาน “TreeView” สำหรับมือใหม่กันดีกว่า

          เชื่อว่านักพัฒนาโปรแกรม Web application ด้วย .Net หลายๆท่านอาจจะเคยได้ยินชื่อของเจ้า “TreeView” กันมาบ้างแล้ว หรือบางท่านก็อาจจะเกือบลืมเจ้าเครื่องมือตัวนี้ไปแล้วก็ตามเพราะมันอาจจะไม่ใช่เครื่องมือที่ถูกหยิบมาใช้บ่อยนัก ในบทความนี้ผู้เขียนจึงขอหยิบยกเจ้า “TreeView” มาปัดฝุ่น แนะนำลูกเล่นการใช้งาน การกำหนดคุณสมบัติต่างๆ และวิธีการใช้งานกันอย่างคร่าวๆก่อน เพื่อเป็นการปูพื้นฐานให้กับมือใหม่หัดใช้ TreeView และรื้อความทรงจำให้กับผู้ที่เคยใช้ TreeView มาก่อนหน้านี้ เผื่อความสามารถที่ซ่อนอยู่จะไปเตะตาตรงใจท่านใดที่กำลังมองหาการทำงานแบบนี้อยู่พอดี จนอยากนำเครื่องมือตัวนี้ไปประยุกต์ใช้เป็นอีกหนึ่งทางเลือกในการแสดงผลข้อมูลในงานพัฒนาของท่านกันอีกครั้งได้ค่ะ           แต่ก่อนจะพูดถึงลูกเล่นการทำงานของ TreeView คงต้องเกริ่นนำกันก่อนว่าเจ้าเครื่องมือตัวนี้ถูกจัดอยู่ในจำพวก Navigation Control ซึ่งบางคนอาจเกิดคำถามว่า ข้อมูลแบบใดบ้างจึงจะเหมาะนำมาใช้งานแสดงผลกับเจ้า TreeView นี้ ซึ่งโดยความเห็นส่วนตัวแล้วนั้น ผู้เขียนคิดว่าข้อมูลที่เหมาะจะมาแสดงผลด้วย TreeView ควรจะเป็นข้อมูลที่มีลักษณะเป็นแบบ Hierarchy หรือเป็นลักษณะโครงสร้าง มีลักษณะข้อมูลเป็นลำดับชั้นย่อยๆ เช่น โครงสร้างหน่วยงาน โครงสร้างองค์กร หรือข้อมูลที่เป็นประเภทหลักและประเภทย่อย เป็นต้น และเพื่อไม่ให้เป็นการเสียเวลา เรามาเรียนรู้วิธีจัดการกับ … Read more

วิธีส่ง email ออกไปในนามหน่วยงาน ด้วย PSU Webmail

เนื่องจาก ตอนนี้มีหลายหน่วยงาน มีความต้องการใช้ “email ส่วนกลาง” ที่เป็น Mailbox แยกจากบุคคล กันมามากจึงขอเรียนให้ทราบถึงปัญหาที่หน่วยงานของท่านจะเจอ ก่อนจะตัดสินใช้วิธีการดังกล่าว ไม่รู้ใครอ่าน ไม่รู้ว่าใครส่งออกไป ไม่รู้ว่าใครลบ email สำคัญนั้น ไม่รู้ว่าใครเปลี่ยนพาสเวิร์ด วิธีที่ทำกันมาตลอด คือ การสร้าง Groupmail นั้น แต่ละกลุ่ม มีสมาชิกผู้รับได้หลายคน ทำให้ช่วยกันดูแลได้ การส่งออก สามารถตั้งได้ว่า ส่งออกไปในนามหน่วยงาน และสามารถตรวจสอบได้ว่า ใครเป็นคนส่ง สามารถสร้าง Archive ได้ หมายความว่า ย้อนกลับมาดูได้ว่า เรื่องเหล่านี้ พูดคุยกันไปว่าอย่างไรบ้าง สมาชิกบางคน ลบ email ไป แต่ การสนทนา ยังอยู่ หมดปัญหา 1 account แต่รู้รหัสผ่านกันหลายคน สำหรับวิธีการตั้งค่า ให้ แต่ละคนในกลุ่ม ส่งออกไปในนามหน่วยงานได้ บน PSU Webmail คลิกที่ … Read more

How to create LVM volume group and logical volume

LVM ย่อมาจาก Logical Volume Manager ความสามารถของ LVM คือสามารถสร้าง logical partition ขยายไปบนฮาร์ดดิสก์หลายๆ ลูกได้ ขั้นตอนต่อไปนี้เป็นขั้นตอนที่ทำบน CentOS หรือ Oracle Linux หรือ ค่าย Redhat Enterprise Linux ส่วนฝั่ง Debian ก็สามารถใช้คำสั่งเดียวกันทำงานเหมือนกัน แต่อาจจะต้องติดตั้งโปรแกรมเพิ่ม โดยขนาดสูงสุดที่ LVM ทำได้ขึ้นกับชนิดของ CPU และ Kernel ที่ใช้งาน สำหรับ Kernel 2.4 บน CPU 32-Bit มีขนาดได้ไม่เกิน 2TB สำหรับ Kernel 2.6 บน CPU 32-Bit มีขนาดได้ไม่เกิน 16TB สำหรับ Kernel 2.6 บน CPU 64-Bit … Read more

วิธีสร้าง Live Stream ด้วย Google Meet เพื่องานประชุมขนาดใหญ่ — Deprecated

ต่อจาก ทุกคนใน PSU ใช้ Google Meet สำหรับประชุม / การเรียนการสอน ได้ใน 3 ขั้นตอน การประชุม มี 2 รูปแบบ 1) แบบห้องประชุมเล็ก อาจจะเป็นการประชุมเล็ก ทุกคนสามารถพูดแทรกได้ (Discussion) เป็นแนวระดมความคิด (Brainstorm) นึกถึงห้องประชุมที่ทุกคนนั่งหันหน้าเข้าหากัน บนโต๊ะอาจจะมีไมโครโฟนของแต่ละคน ใครจะพูด ก็ยกมือ ขออนุญาตประธาน แล้วกดปุ่มพูด การประชุมแบบนี้ Google Meet ให้คนเข้าร่วมได้สูงสุด 250 คน ** ข้อแนะนำ ** ผู้เข้าร่วมประชุม ควรปิดไมค์ของตนเองไว้ก่อนเสมอ เพราะเสียงต่าง ๆ จะแทรกเข้าไปในห้องประชุมได้ ไว้เวลาอยากจะพูดอะไร ค่อยเปิดไมค์ แล้วพูด Google Meet จะสลับมายังหน้าของท่านเองอัตโนมัติ ปิดไมค์ใน Google Meet ทำงี้ครับ (แบบนี้คือเปิดอยู่ คลิกรูปไมค์เพื่อปิด) … Read more

ทุกคนใน PSU ใช้ Google Meet สำหรับประชุม / การเรียนการสอน ได้ใน 3 ขั้นตอน

Google Meet เปิดให้บัญชีของ PSU Email “ทุกคน” สามารถใช้งานได้ (เพราะเราใช้บริการ G Suite for Education) สร้างห้องประชุมได้ * รองรับได้สูงสุด 250 คน ต่อห้อง ** สตรีมมิงแบบสด บันทึก VDO ได้ โดยเก็บบน Google Drive *** * เราในฐานะผู้มีบัญชี G Suite สามารถ สร้าง ได้ และเชิญผู้เข้าร่วม โดย ผู้เข้าร่วมประชุม ไม่จำเป็นต้องมี Google Account ก็ได้ (ดูอย่างเดียว) ** ถ้าต้องการทำสำหรับงานประชุมที่มีคนดูอย่างเดียวจำนวนมาก เช่น เปิดสอนคลาสใหญ่ แนะนำ วิธีสร้าง Live Stream ด้วย Google Meet เพื่องานประชุมขนาดใหญ่ *** … Read more