• กด enter เพื่อไปต่อ..

  • เมื่อถึงหน้านี้

  • เลือกตามภาพกด Next

  • ได้ดังภาพ

  • เลือก Custom: Install Windows only (advance)

  • มาถึงหน้าเลือกฮาร์ดดิสก์ ในตัวอย่างนี้มีฮาร์ดดิสก์เพียงลูกเดียว สามารถกด Next ข้ามไปได้ทันทีหรือหากต้องการแบ่งฮาร์ดดิสก์เป็นขนาดต่างสามารถทำได้โดยกด New

  • ใส่ขนาดที่ต้องการใช้ติดตั้ง Windows 10 (อย่างน้อย 25GB สำหรับวินโดวส์ยังไม่รวมโปรแกรม….) กด Apply

  • กด OK

  • ตัวติดตั้งจะสร้าง Partition เพิ่มอีก 1 Partition โดยอัตโนมัติและเลือก Partition ที่สองไว้แล้วกด Next

  • เวลาแห่งการรอคอย

  • Restart เครื่อง

  • เลือกคีย์บอร์ด

  • ขั้นตอนหลังจากนี้มี 2 กรณีคือ
สามารถเชื่อมต่อกับ Internet ได้

    • จะมีการ update windows เล็กน้อย

    • แล้วเครื่องจะรีสตาร์ทเมื่อรีสตาร์ทเสร็จจะได้หน้านี้

    • จำเป็นต้องใช้ Account ของ Office365 !! ในการ sign in เข้าใช้งาน

    • ใส่พาสเวิร์ดให้เรียบร้อยกด  Next จะได้หน้านี้
    • มีการตั้งค่า PIN สำหรับเข้าระบบแทน Password ตั้งให้เรียบร้อย
    • จบ

ไม่สามารถเชื่อมต่อกับ Internet ได้

    • จะมีการสอบถามเรื่องการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต เลือก Skip for now

    • เครื่องจะรีสตาร์ท แล้วเข้าสู่หน้ากำหนด Username
    • ในส่วนของรหัสผ่าน ยังไม่ต้องกำหนดในขั้นตอนนี้ให้กด Next เพื่อข้ามไปก่อน

    • จะได้หน้านี้กด Accept
    • ต่อไป
    • จบ

  • ต่อไปขั้นตอนการ Activate มี 2 วิธีคือการใช้ MAK Key และ การใช้ KMS ของมหาวิทยาลัย
  • MAK Key ที่เป็นคีย์สำหรับบุคลากรเท่านั้น สามารถกดรับเองได้จาก https://licensing.psu.ac.th/cd-key-request/ ซึ่งเป็นคีย์กลางใช้ร่วมกันทั้งมหาวิทยาลัย   ทำให้การ Activate 1 ครั้งมีผลให้คีย์ถูกใช้งาน 1 ครั้งซึ่งสำหรับคีย์ใหม่ที่มหาวิทยาลัยได้รับมานี้ เบื้องต้น (ข้อมูลของวันที่ 19 ก.ค. 2560)
    • Windows 10 Education  ถูกใช้ไปแล้ว 587 จาก 1000
    • Windows 10 Professional ถูกใช้ไปแล้ว 305 จาก 1000
    • Windows 10 Enterprise 2015 LTSB ถูกใช้ไปแล้ว 587 จาก 1000
    • Windows 10 Enterprise 2016 LTSB ถูกใช้ไปแล้ว 169 จาก 1000
  • MAK Key อีกชนิดเป็นคีย์ที่สามารถรับได้เองจาก Microsoft Imagine Microsoft Azure ที่ https://licensing.psu.ac.th/microsoft-imagine/  https://azureforeducation.microsoft.com/devtools เป็นคีย์สำหรับนักศึกษาและบุคลากร จะมีคีย์เฉพาะ Windows 10 รุ่น Education เท่านั้น! และเป็นคีย์ส่วนตัวของใครของมัน จากความเชื่อเดิมคีย์นี้จะสามารถใช้ติดตั้งได้ 5 ครั้ง ซึ่งตอนนี้ผมยังไม่มีข้อมูลยืนยันในเรื่องนี้ครับ ขอติดไว้ก่อน
  • บนเว็บไซต์ของ Microsoft Imagine Microsoft Azure มีซอฟท์แวร์ของไมโครซอฟท์อีกหลายอย่างที่สามารถขอคีย์ได้เอง เช่น Visio 2016, Project 2016, Visual Studio Enterprise 2017 เป็นต้น (หมายเหตุ หากต้องการใช้ Visio 2016 และ Project 2016 จาก Microsoft Imagine นั้นตัว Microsoft Office 2016 ที่ใช้งานอยู่จะต้องเป็น Office365 เท่านั้นไม่เช่นนั้นจะไม่สามารถติดตั้งได้)
  • การ Activate ด้วย KMS ของมหาวิทยาลัย มีไว้เพื่อแก้ปัญหาการใช้คีย์ที่มากเกินไป ของห้องปฏิบัติการและเครื่องประจำโต๊ะของบุคลากรในหน่วยงาน และเพื่อแก้ปัญหาบางโปรแกรมที่มหาวิทยาล้ัยไม่ได้ซื้อเช่น Visio 2016 และ Project 2016 โดยต้องเชื่อมต่อกับเครือข่ายของมหาวิทยาลัยตลอดเวลา และเปิดใช้งานเป็นประจำทุกวัน หรือ อย่างน้อย 1 ครั้งใน 6 เดือน!  KMS คีย์ เป็นคีย์มีอยู่แล้วตั้งแต่ตอนติดตั้ง โดยโปรแกรมที่มีคีย์นี้ติดตั้งมาให้ได้แก่ Windows Vista/7/8/8.1/10 Education/10 Professional/10 Enterprise/10 Enterprise 2015 ltsb/10 Enterprise 2016 ltsb  (ส่วน Windows 10 Enterprise 2016 ltsb ยังไม่สามารถ activate ด้วย KMS ได้) รวมไปถึง Office 2010/2013/2016, Visio 2010/2013/2016, Project 2010/2013/2016
วิธี Activate ด้วย MAK Key

  • วิธี Activate ด้วย MAK Key
  • เริ่มจากคลิกที่ปุ่ม Start แล้วพิมพ์ (พิมพ์เลยไม่ต้องคลิกอะไรทั้งนั้นพิมพ์เลย!!) ว่า slui  (อ่านว่า เอส-แอล-ยู-ไอ) แล้วคลิกที่ slui ที่ขึึ้นมาดังภาพ

  • จะมีหน้า UAC ขึ้นมาถามกด Yes

  • จะได้หน้านี้ แล้วให้ใส่ Key ที่ได้จาก 2 แหล่งที่บอกไปแล้วข้างบน แล้วกด Next ไปจนเสร็จ ขั้นตอนนี้ต้องเชื่อมต่อกับอินเตอร์เน็ตให้เรียบร้อยก่อนเพราะเป็นการ activate ผ่านอินเตอร์เน็ตเท่านั้น!

  • เมื่อ Activate ผ่านจะได้ดังภาพ

  • จบ

วิธี Activate ด้วย KMS Key

  • วิธี Activate ด้วย KMS
  • ต้องแจ้ง IP address มาที่นี่ โดยจะแจ้งมาเป็น IP address เดียวหรือทั้งวงก็ได้แต่ต้องเป็นวงที่ ***เครื่องส่วนตัวของนักศึกษาไม่ได้ร่วมใช้งานด้วย เนื่องจากติดเรื่องลิขสิทธิ์***
  • ให้ DHCP Server แจก DNS Suffix ว่า psu.ac.th หรือจะเซ็ตที่เครื่องเองก็ได้
  • วิธีเซ็ต DNS Suffix เองที่เครื่อง Windows 10
    • คลิกขวาที่สัญลักษ์ หรือ เลือก Open Network and Sharing Center

    • ได้ดังภาพ
    • คลิกที่ ชื่อ WiFi ที่เชื่อมต่อ หรือ จะได้
    • คลิก Properties ได้ดังภาพ
    • เลือก Internet Protocol Version 4 (TCP/IPv4) แล้วคลิก Properties
    • คลิก Advanced
    • คลิก DNS
    • พิมพ์ psu.ac.th ในช่อง DNS suffix for this connection:
    • หรือถ้าหากมีอยู่แล้วสามารถคลิกที่ Append these DNS suffixex (in order): แล้วคลิก Add…
    • กด OK ออกมาเรื่อยๆ แล้วคลิก Close
    • ตรวจสอบการ Activate คลิกขวาที่ เลือก System
    • ได้หน้าต่าง About
    • เลื่อนลงมาด้านล่างคลิกที่ Change product key or upgrade your edition of Windows
    • จะเห็นเป็นดังภาพ
    • หากไม่เห็นดังภาพให้คลิกขวาปุ่ม Start เลือก Windows Power Shell (admin)
    • จะได้หน้าจอ Power Shell ให้พิมพ์ว่า cscript slmgr.vbs -ato  (อ่านว่า ซี-สคริปต์-เว้นวรรค-เอส-แอล-เอ็ม-จี-อาร์-ดอท-วี-บี-เอส-เว้นวรรค-ลบ-เอ-ที-โอ) แล้วกด enter
    • จะได้ว่า
    • จบ

  • จบจริงๆ ขอให้สนุก
  • อาจจะงง แล้ว Microsoft Account ไว้ทำอะไร ต่อบทความหน้าครับ
Share the Post:

Related Posts

ทำความรู้จักกับ Outlook บนเว็บ

Post Views: 6 Outlook เป็นเครื่องมือจัดการอีเมลและปฏิทินที่ทรงพลัง ซึ่งช่วยให้คุณมีระเบียบและเพิ่มความสามารถในการทำงาน ด้วยอินเทอร์เฟซที่ใช้งานง่าย คุณสามารถจัดการกล่องขาเข้าของคุณ นัดหมาย และทำงานร่วมกับเพื่อนร่วมงานได้อย่างง่ายดาย ฟีเจอร์ที่แข็งแกร่งของ Outlook รวมถึงแม่แบบอีเมลที่ปรับแต่งได้ ความสามารถในการค้นหาขั้นสูง และการผสานรวมที่ไร้รอยต่อกับแอปพลิเคชัน Microsoft Office อื่นๆ ไม่ว่าคุณจะเป็นมืออาชีพที่ยุ่งอยู่หรือเป็นนักเรียนที่ต้องจัดการกับภารกิจหลายอย่าง Outlook

Read More

[บันทึกกันลืม] JupyterHub Authenticated with OIDC

Post Views: 36 ต่อจากตอนที่แล้ว [บันทึกกันลืม] JupyterHub ด้วย Docker คราวนี้ ถ้าต้องการให้ ยืนยันตัวตนด้วย OpenID เช่น PSU Passport เป็นต้น ก็ให้ทำดังนี้ ในไฟล์ jupyterhub_config.py ใส่

Read More