nattika.h@psu.ac.th
2. กรอก Password ที่ได้รับ 3. หลังจาก Sign in ได้แล้วจะปรากฏหน้านี้ ให้คลิก No 4. เมื่อเข้ามาที่ Email แล้วให้คลิกที่ชื่อบัญชี แล้วเลือก “View account” ตามรูป 5. คลิกเลือก “Change Password” ตามรูป 6. กรอก Password เดิมที่ช่อง “Current password” และกรอก Password ใหม่ ที่ช่อง “New password” และ “Confirm new password” แล้วกด submit ตามรูป 7. หลังจากเปลี่ยน password เสร็จแล้วจะปรากฏตามรูป ** หากพบปัญหาเกี่ยวกับ password หรือต้องการ reset password สามารถแจ้งได้ทางโทรศัพท์ 074-282082…
>> Read More <<
1.ทำการติดตั้งแอพพลิเคชั่นโดยกดค้นหา “Zoom Workplace” ที่ App Store สำหรับ ios และที่ Play Store สำหรับ Android 2. ทำการ Sign in ด้วย SSO และใส่ Company Domain เป็น “psu-th” ดังรูป 3. ลงชื่อเข้าใช้ด้วย PSU Passport 4. กรอกเลขเพื่อยืนยันตัวตนในแอพพลิเคชั่น Authenticator *หากไม่เคยติดตั้งแอพพลิเคชั่น Authenticator ให้ทำตามคู่มือ https://sysadmin.psu.ac.th/2022/11/04/microsoft-authenticator หรือ ถ้าโทรศัพท์ ไม่ขึ้นเตือนให้ใส่เลข กรุณาติดต่อ 087 633 8332 * กรณีไม่เคยมีบัญชี Zoom มาก่อน หรือ มีบัญชี Zoom อยู่แล้ว แต่ไม่เข้าสังกัด PSU ให้ดำเนินการตามคู่มือ Zoom…
2. หลังจาก download แล้วให้ทำการติดตั้งไฟล์ Install 3. ทำการ Sign In ด้วย SSO ตามคู่มือ Zoom PSU(1)วิธี Sign In ด้วย SSO แบบติดตั้งโปรแกรม Zoom บน PC สำหรับผู้ใช้งาน Phone หลังจาก Sign In แล้วจะพบไอคอน Phone ตามรูป 4. การใช้งาน Zoom Phone ให้กดที่ไอคอน “Phone” สามารถใช้งานโทรศัพท์ได้โดยกดโทรด้วยเบอร์ หรือ โทรออกด้วยชื่อได้
grianggrai.n
แบบด่วนๆ เลยนะ ล็อคอินเข้าระบบด้วยบัญชีผู้ใช้ root ปกติติดตั้งมาให้ตั้งแต่เริ่มต้น หากยังไม่ได้ติดตั้ง สามารถติดตั้งด้วยคำสั่ง yum install firewalld firewall-config สั่งให้ firewalld ทำงานด้วยคำสั่ง systemctl enable firewalld.service systemctl start firewalld.service ดูสถานะการทำงานของ firewalld ด้วยคำสั่ง systemctl status firewalld.service ต้องได้ประมาณว่า อธิบายได้ว่า ยอมรับการเข้าถึงจากไอพี 192.26.0.1 มายัง tcp port 631 ไปที่ zone public แบบถาวร zone public เป็น zone ที่ถูกเลือกไว้โดย default แปลว่าอนุญาต ไอพี 192.100.33.12 ให้เข้ามาที่บริการ ssh ได้ คลิก Ok เพิ่มเพิ่มกฎ จะได้
kanakorn.h
AnythingLLM เป็นเครื่องมือทำ RAG (retrieval-augmented generation) โดยอาศัย LLM (Large Language Model) ต่าง ๆ เช่น Llama, Mistral, Gemma ซึ่งสามารถใช้แบบ Local LLM ได้ ผ่าน Ollama หรือ LM Studio และกลุ่มที่เป็น Cloud LLM อย่าง GPT-4o, Gemini และ Claude Sonet เป็นต้น RAG ต่างจากการใช้ Chatbot คือ เราสามารถให้ LLM ทำความเข้าใจ Context หรือ บริบท ของข้อมูลในองค์กรเราได้ ซึ่งแน่นอนว่า Local LLM ย่อมเป็นส่วนตัวกว่า แต่ ในบางกรณี เราก็ต้องการพลังที่เหนือกว่าของ Cloud LLM…
หากเป็น node เก่า อย่าลืมทำ [บันทึกกันลืม] K8S เอา node เดิม join กลับเข้ามาไม่ได้ เป็นปัญหาเพราะ CNI Adding a new node running Ubuntu 22.04 to Kubernetes version 1.26.15 cluster. Hope this help.
จุดประสงค์: เพื่อให้ใช้งาน physical server ได้เต็มประสิทธิภาพ พอดีใช้ Kubernetes จนถึง ลิมิต 110 pods / node ทำไงดี CPU/Ram เหลือ เลยคิดจะทำ Virtualization ขึ้นไปอีกชั้น จากนั้นก็เอามา join เข้า cluster อีกเครื่อง ทำให้สร้าง 220 pods / nodes เอาว่า เป็นเพื่อการทดลอง แต่ใครมี server ใช้งานไม่เต็มประสิทธิภาพ จะใช้ vmware ก็เกรงจะต้องเสียตังค์ หรือ ไม่อยากไปใช้ promox ve ซึ่งไม่รู้เมื่อไหร่จะต้องเสียตังค์ ก็ลองดูวิธีนี้ได้ ติดตั้ง KVM บน Ubuntu 22.04 ติดตั้ง Cockpit สร้าง VM ใช้งาน cockpit http://server-ip-address:9090
suntaree.n
1. คลิกลิงก์ https://psu-th.zoom.us >> คลิก Sign in >> กรอกบัญชีผู้ใช้ด้วย PSU Passport 2. คลิก Settings > Schedule Meeting > กดเปิดใช้งาน Allow participants to join before host 3. ติ๊กถูก Participants can join > กด Save
1. ตั้งค่าผ่าน Browsers (ตั้งค่าล่วงหน้าการประชุมทั้งหมด) 1.1 คลิกลิงก์ https://psu-th.zoom.us >> คลิก Sign in >> กรอกบัญชีผู้ใช้ด้วย PSU Passport 1.2 คลิก Settings > In Meeting (Basic) > Screen sharing เลือก Enable >Who can share? เลือก All Participants (ผู้เข้าร่วมสามารถแชร์ได้) 2. ตั้งค่าผ่าน App (ทำระหว่างการประชุมผ่าน Zoom) 2.1 Host/Co-host > Join Zoom Meeting ID 2.2 คลิก Share ^ >> Advanced sharing options… >> Who can share?…