อ่าน/เขียนข้อมูลกับ Google Sheets

  1. เปิด Google Sheets : GASWS1
  2. เมนู Tools > Script Editor…
  3. เมนู File > New > Script File
  4. ตั้งชื่อ: myscript3
  5. สร้าง function insertData1() ตามนี้
    function insertData1() {
     var ss=SpreadsheetApp.getActiveSpreadsheet();
     var sheet=SpreadsheetApp.setActiveSheet(ss.getSheetByName("Sheet1"));
     sheet.getRange(1, 1).setValue("Hello World");
     sheet.getRange("A2").setValue("สวัสดี");
     
     var v1=[ ["ชื่อ","นามสกุล","อายุ"] ];
     var v2=[
     ["สมชาย"]
     ,["Robert"]
     ,["39"]
     ];
     sheet.getRange("A3:C3").setValues(v1);
     sheet.getRange("A4:A6").setValues(v2);
    }
  6. เมนู Run > insertData1
  7. สร้าง function insertData2() ตามนี้
    function insertData2() {
     var ss=SpreadsheetApp.getActiveSpreadsheet();
     var sheet=SpreadsheetApp.setActiveSheet(ss.getSheetByName("Sheet1")); 
     sheet.appendRow([new Date(),"something"]);
    }
  8. เมนู File > Save หรือ กดปุ่ม Ctrl+s
  9. เมนู Run > insertData2
  10. เมนู Resources > All yours triggers
    คลิก No triggers set up. Click here to add one now.
    ตั้งค่า
    Run = insertData2
    Event = Time-driven
    แล้วเลือกเป็น Minutes timers และ Every minute
    จากนั้นคลิกปุ่ม Save
  11. ไปที่ Google Sheets “GASWS1”
  12. สร้าง Sheet ใหม่ ชื่อ “ReadData”
  13. เมนู Tools > Script Editor…
  14. สร้าง function readData1() ตามนี้
    function readData1(){
     var ss=SpreadsheetApp.getActiveSpreadsheet();
     var sheet=SpreadsheetApp.setActiveSheet(ss.getSheetByName("ReadData")); 
    
     var url="https://docs.google.com/spreadsheets/d/1oztRXjC2KJzrqC3LtiRnUPrEgohX4VTYHixylvtCdzY/edit?usp=sharing";
     var db=SpreadsheetApp.openByUrl(url);
     var table=db.setActiveSheet(db.getSheetByName("WGHCEPA"));
     var data=table.getRange("A1:J10").getValues();
     
     for (var i=0; i<data.length;i++){
     sheet.appendRow(data[i]);
     }
     
    }
  15. เมนู File > Save หรือ กดปุ่ม Ctrl+s
  16. เมนู Run > readData1
  17. สร้าง function readData2() ตามนี้
    function readData2(){
     var ss=SpreadsheetApp.getActiveSpreadsheet();
     var sheet=SpreadsheetApp.setActiveSheet(ss.getSheetByName("readData")); 
    
     var id="1oztRXjC2KJzrqC3LtiRnUPrEgohX4VTYHixylvtCdzY";
     var db=SpreadsheetApp.openById(id);
     var table=db.setActiveSheet(db.getSheetByName("WGHCEPA"));
     var data=table.getDataRange().getValues();
     
     for (var i=0; i<data.length;i++){
     sheet.appendRow(data[i]);
     }
     
    }
  18. เมนู File > Save หรือ กดปุ่ม Ctrl+s
  19. เมนู Run > readData2
  20. สร้าง function insertData3() ตามนี้
    function insertData3(){
     var url="https://docs.google.com/a/psu.ac.th/spreadsheets/d/1bQyyQrB3PPyawWVb3afMi0Kgz1KUibIfMblv351BtQI/edit?usp=sharing";
     var db=SpreadsheetApp.openByUrl(url);
     var table=db.setActiveSheet(db.getSheetByName("Sheet1"));
     // เปลี่ยนเป็น ชื่อ นามสกุล และคณะ/หน่วยงานของท่าน
     var mydata=["ชื่อ","นามสกุล","คณะ/หน่วยงาน"];
     
     table.appendRow(mydata);
    }
  21. เมนู File > Save หรือ กดปุ่ม Ctrl+s
  22. เมนู Run > insertData3
Share the Post:

Related Posts

ทำความรู้จักกับ Outlook บนเว็บ

Post Views: 6 Outlook เป็นเครื่องมือจัดการอีเมลและปฏิทินที่ทรงพลัง ซึ่งช่วยให้คุณมีระเบียบและเพิ่มความสามารถในการทำงาน ด้วยอินเทอร์เฟซที่ใช้งานง่าย คุณสามารถจัดการกล่องขาเข้าของคุณ นัดหมาย และทำงานร่วมกับเพื่อนร่วมงานได้อย่างง่ายดาย ฟีเจอร์ที่แข็งแกร่งของ Outlook รวมถึงแม่แบบอีเมลที่ปรับแต่งได้ ความสามารถในการค้นหาขั้นสูง และการผสานรวมที่ไร้รอยต่อกับแอปพลิเคชัน Microsoft Office อื่นๆ ไม่ว่าคุณจะเป็นมืออาชีพที่ยุ่งอยู่หรือเป็นนักเรียนที่ต้องจัดการกับภารกิจหลายอย่าง Outlook

Read More

[บันทึกกันลืม] JupyterHub Authenticated with OIDC

Post Views: 36 ต่อจากตอนที่แล้ว [บันทึกกันลืม] JupyterHub ด้วย Docker คราวนี้ ถ้าต้องการให้ ยืนยันตัวตนด้วย OpenID เช่น PSU Passport เป็นต้น ก็ให้ทำดังนี้ ในไฟล์ jupyterhub_config.py ใส่

Read More