Tag: ubuntu 16.04

  • Oracle MySQL Cluster :- The shared-nothing architecture (Manual Installation)

    1. สิ่งที่ต้องเตรียม ได้แก่ Ubuntu Server 16.04 (รุ่น x86_64 architecture) จำนวนอย่างน้อย 4 เครื่อง (แต่ควรอย่างน้อย 6 เครื่อง), IP Address 4 IP, Software MySQL Cluster โหลดที่ https://edelivery.oracle.com/ (ต้องสมัครสมาชิกให้เรียบร้อยก่อน) ใช้คำค้นว่า MySQL Cluster (จะมีรุ่น 7.5.5 ให้โหลด) โดยไฟล์ที่ใช้งานชื่อว่า V840854-01.zip MySQL Cluster 7.5.5 TAR for Generic Linux (glibc2.5) x86 (64bit)

    2. 4 เครื่องประกอบด้วยอะไรบ้าง
      2 x data nodes เปลี่ยน IP ให้ตรงกับที่ใช้งาน
      192.168.106.32  Data-node1
      192.168.106.33  Data-node2
      1 x SQL/NoSQL Application Node
      192.168.106.42  SQL-Node
      1 x Management Node
      192.168.106.40  Management-node
    3. เริ่มที่ Management Node
      1. ssh 192.168.106.40 -l sudo_user (user ที่เรียกใช้คำสั่ง sudo ได้)
      2. คลายแฟ้ม V840854-01.zip ด้วยคำสั่ง
        unzip V840854-01.zip (อาจต้องติดตั้งเพิ่มเติมด้วยคำสั่ง sudo apt install unzip)
      3. จะได้แฟ้ม  mysql-cluster-advanced-7.5.5-linux-glibc2.5-x86_64.tar.gz คลายแฟ้ม mysql-cluster-advanced-7.5.5-linux-glibc2.5-x86_64.tar.gz ด้วยคำสั่ง
        tar zxvf mysql-cluster-advanced-7.5.5-linux-glibc2.5-x86_64.tar.gz
      4. เปลี่่ยนชื่อ mysql-cluster-advanced-7.5.5-linux-glibc2.5-x86_64 เป็น mysql
        mv mysql-cluster-advanced-7.5.5-linux-glibc2.5-x86_64 mysql
      5. คัดลอกแฟ้ม mysql/bin/ndb_mgmd และ mysql/bin/ndb_mgm ไปไว้ที่ /usr/local/bin
        cp mysql/bin/ndb_mgm* /usr/local/bin/
      6. สร้างโฟลเดอร์ /var/lib/mysql-cluster และสร้างแฟ้ม /var/lib/mysql-cluster/config.ini
        sudo mkdir -p /var/lib/mysql-cluster/
      7. เพื่อเป็นการบอก Management node ว่า Data Node และ SQL Node มีใครบ้าง ให้สร้าง config.ini ไว้ที่ /var/lib/mysql-cluster ด้วยคำสั่ง
        cat<< EOF | sudo tee /var/lib/mysql-cluster/config.ini
        เพิ่มข้อความต่อไปนี้ลงไป
        [ndbd default]
        NoOfReplicas=2
        DataMemory=80M
        IndexMemory=18M
        [mysqld default]
        [ndb_mgmd default]
        [tcp default]
        # Cluster Control / Management node
        [ndb_mgmd]
        hostname=192.168.106.40# Data Node 1
        [ndbd]
        hostname=192.168.106.32
        DataDir= /var/lib/mysql-cluster# Data Node 2
        [ndbd]
        HostName=192.168.106.33
        DataDir=/var/lib/mysql-cluster# SQL Node
        [mysqld]
        hostname=192.168.106.42

        # If you to add new SQL Node
        [mysqld]

        EOF

      8. เพิ่มข้อความต่อไปนี้ในแฟ้ม /etc/rc.local
        /var/lib/mysql-cluster/config.ini --configdir=/var/lib/mysql-cluster/
        โดยเพิ่มให้อยู่บรรทัดก่อนคำว่า exit 0 ตัวอย่าง /etc/rc.local
        #!/bin/sh -e
        #
        # rc.local
        #
        # This script is executed at the end of each multiuser runlevel.
        # Make sure that the script will "exit 0" on success or any other
        # value on error.
        #
        # In order to enable or disable this script just change the execution
        # bits.
        #
        # By default this script does nothing.
        ndb_mgmd -f /var/lib/mysql-cluster/config.ini --configdir=/var/lib/mysql-cluster/
        exit 0
      9. สั่งคำสั่ง
        sudo ndb_mgmd -f /var/lib/mysql-cluster/config.ini --configdir=/var/lib/mysql-cluster/
        ต้องเห็นข้อความว่า MySQL Cluster Management Server mysql-5.7.17 ndb-7.5.5 แปลว่า management node ทำงานแล้ว
      10. สามารถตรวจสอบด้วยคำสั่งอื่นๆ
        netstat -plntu
        ได้ผลดังภาพ สังเกตุบรรทัดที่เขียนว่า tcp 0 0 0.0.0.0:1186 แปลว่า management node ทำงานแล้ว
      11. สามารถทำซ้ำได้อีกเครื่อง (ไม่จำกัด) แต่ในตัวอย่างนี้มีเพียงเครื่องเดียว
      12. ส่งแฟ้ม mysql-cluster-advanced-7.5.5-linux-glibc2.5-x86_64.tar.gz ให้ SQL node
        cd
        scp mysql-cluster-advanced-7.5.5-linux-glibc2.5-x86_64.tar.gz sudo_user@192.168.106.42
    4. ติดตั้ง SQL Node
      1. ssh 192.168.106.42 -l sudo_user (User ที่สามารถเรียกใช้คำสั่ง sudo ได้)
      2. ติดตั้ง Package ที่จำเป็น
        sudo apt install libaio1
      3. สร้าง user  และ group
        sudo groupadd mysql
        sudo useradd -g mysql mysql
      4. คลายแฟ้ม mysql-cluster-advanced-7.5.5-linux-glibc2.5-x86_64.tar.gz ด้วยคำสั่ง
        tar zxvf mysql-cluster-advanced-7.5.5-เพิ่มข้อความต่อไปนี้ในแฟ้ม /etc/rc.local
        /var/lib/mysql-cluster/config.ini --configdir=/var/lib/mysql-cluster/
        โดยเพิ่มให้อยู่บรรทัดก่อนคำว่า exit 0 ตัวอย่าง /etc/rc.locallinux-glibc2.5-x86_64.tar.gz
      5. เปลี่่ยนชื่อ mysql-cluster-advanced-7.5.5-linux-glibc2.5-x86_64 เป็น mysql
        mv mysql-cluster-advanced-7.5.5-linux-glibc2.5-x86_64 mysql
      6. ย้าย mysql ไปที่ /usr/local/ ด้วยคำสั่ง
        sudo mv mysql /usr/local
      7. สร้างโฟลเดอร์และสั่งคำสั่งต่อไปนี้
        sudo mkdir /usr/local/mysql/data
        sudo mkdir /var/lib/mysql-files
        sudo chown mysql:mysql /var/lib/mysql-files
        sudo chown mysql:mysql /usr/local/mysql/data
      8. สร้างแฟ้ม /etc/my.cnf ด้วยคำสั่ง
        cat << EOF | sudo tee /etc/my.cnf
        เพิ่มข้อความต่อไปนี้ลงไป
        # MySQL Config
        [mysqld]
        datadir=/usr/local/mysql/data
        socket=/tmp/mysql.sock
        user=mysql# Run ndb storage engine
        ndbcluster
        # IP address management node
        ndb-connectstring=192.168.106.40[mysql_cluster]
        # IP address management node
        ndb-connectstring=192.168.106.40# MySQL Pid and Log
        [mysqld_safe]
        log-error=/var/log/mysqld.log
        pid-file=/var/run/mysqld/mysqld.pid
        EOF
      9. สั่งคำสั่งต่อไปนี้เพื่อเตรียมฐานข้อมูล ในขั้นตอนนี้จะมีการสร้าง passwd ของ root ให้ด้วยโดยอัตโนมัติ  *จดไว้ด้วย*
        sudo /usr/local/mysql/bin/mysqld --initialize --user=mysql --datadir=/usr/local/mysql/data
      10. เพื่อให้ตัวควบคุมฐานข้อมูลทำงานอัตโนมัติสั่งคำสั่งต่อไปนี้
        sudo cp /usr/local/mysql/support-files/mysql.server /etc/init.d/mysqld
        sudo systemctl enable mysqld.service
        sudo systemctl start mysqld
      11. สามารถทำซ้ำได้อีกเครื่อง (ไม่จำกัด) แต่ในตัวอย่างนี้มี SQL Node เพียงเครื่องเดียว
      12. ส่งแฟ้ม mysql-cluster-advanced-7.5.5-linux-glibc2.5-x86_64.tar.gz ให้ SQL node
        cd
        scp mysql-cluster-advanced-7.5.5-linux-glibc2.5-x86_64.tar.gz sudo_user@192.168.106.32
    5. ติดตั้ง Data Node
      1. ssh sudo_user@192.168.106.32  (sudo_user คือ user ที่เรียกใช้คำสั่ง sudo ได้)
      2. สร้างแฟ้ม /etc/my.cnf ด้วยคำสั่ง
        cat << EOF | sudo tee /etc/my.cnf
        เพิ่มข้อความต่อไปนี้เข้าไป
        # MySQL Config
        [mysqld]
        datadir=/usr/local/mysql/data
        socket=/tmp/mysql.sock
        user=mysql# Run ndb storage engine
        ndbcluster
        # IP address management node
        ndb-connectstring=192.168.106.40[mysql_cluster]
        # IP address management node
        ndb-connectstring=192.168.106.40# MySQL Pid and Log
        [mysqld_safe]
        log-error=/var/log/mysqld.log
        pid-file=/var/run/mysqld/mysqld.pid
        EOF
      3. ติดตั้ง Package ที่จำเป็น
        sudo apt install libaio1
      4. สร้าง user  และ group
        sudo groupadd mysql
        sudo useradd -g mysql mysql
      5. คลายแฟ้ม mysql-cluster-advanced-7.5.5-linux-glibc2.5-x86_64.tar.gz ด้วยคำสั่ง
        tar zxvf mysql-cluster-advanced-7.5.5-linux-glibc2.5-x86_64.tar.gz
      6. เปลี่่ยนชื่อ mysql-cluster-advanced-7.5.5-linux-glibc2.5-x86_64 เป็น mysql
        mv mysql-cluster-advanced-7.5.5-linux-glibc2.5-x86_64 mysql
      7. ย้าย mysql ไปที่ /usr/local/ ด้วยคำสั่ง
        sudo mv mysql /usr/local
      8. สร้างโฟลเดอร์และสั่งคำสั่งต่อไปนี้
        sudo mkdir /usr/local/mysql/data
        sudo mkdir /var/lib/mysql-files
        sudo mkdir /var/lib/mysql-cluster
        sudo chown mysql:mysql /var/lib/mysql-files
        sudo chown mysql:mysql /usr/local/mysql/data
      9. สั่ง start service ด้วยคำสั่ง
        sudo  /usr/local/mysql/bin/ndbd
      10. เพิ่มข้อความต่อไปนี้ในแฟ้ม /etc/rc.local
        /usr/local/mysql/bin/ndbd โดยเพิ่มให้อยู่บรรทัดก่อนคำว่า exit 0
        ตัวอย่าง /etc/rc.local
        #!/bin/sh -e
        #
        # rc.local
        #
        # This script is executed at the end of each multiuser runlevel.
        # Make sure that the script will "exit 0" on success or any other
        # value on error.
        #
        # In order to enable or disable this script just change the execution
        # bits.
        #
        # By default this script does nothing.
        /usr/local/mysql/bin/ndbd
        exit 0
      11. ทำซ้ำสำหรับ Data Node2 (ไม่จำกัด)
    6. ทดสอบ Cluster
      1. พิมพ์คำสั่ง
        sudo /usr/local/mysql/bin/ndb_mgm
        เมื่อได้ prompt พิมพ์คำว่า show ได้ผลดังภาพ
      2. แปลว่าทำงานถูกต้องแล้ว..
    7. เชื่อมต่อกับ SQL Node เพื่อเปลี่ยนรหัสผ่าน root
      1. ssh sudo_user@192.168.106.42  (sudo_user คือ user ที่เรียกใช้คำสั่ง sudo ได้)
      2. พิมพ์คำสั่งต่อไปนี้เพื่อสร้าง link ไปยัง mysql client
        sudo ln -s /usr/local/mysql/bin/mysql /usr/bin
      3. เรียกใช้งาน mysql
        mysql -u root -p
        ใส่ passwd ที่จดไว้ในข้อ 4 ข้อย่อย 9 แล้วเปลี่ยนใหม่ด้วยคำสั่ง
        ALTER USER ‘root’@’localhost’ IDENTIFIED BY ‘newPassw0rd’
    8. ทุกครั้งที่จะทำอะไรผ่าน mysql client ต้องติดต่อกับ SQL Node เท่านั้นซึ่งตามตัวอย่างนี้มีเพียงเครื่องเดียวจึงไม่มีการทำ replicate data ใดๆ ทั้งสิ้นจำเป็นต้องเพิ่ม SQL Node เข้าไปอีก
    9. จบ.. ขอให้สนุกครับ

    อ้างอิง

    https://www.howtoforge.com/tutorial/how-to-install-a-mysql-cluster-on-ubuntu-16-04/

    https://medium.com/@ophasnoname_44358/mysql-cluster-7-5-5-on-ubuntu-16-04-step-by-step-9132cf76d5b8

     

  • วิธีการติดตั้ง Docker บน Ubuntu 16.04

    “อยากติดตั้ง Docker บน Ubuntu 16.04 ทำอย่างไร”

             นอกจาก containner ที่เป็น lxd ของ Ubuntu แล้ว ก็ยังสามารถใช้ในรูปแบบ Docker เช่นเดียวกัน แต่ค่อนข้างยุ่งยากกว่าเล็กน้อย โดยถ้าเทียบประสิทธิภาพแล้วในส่วนของ lxd จะดีกว่าแต่ในแง่ของ Image ทาง Docker ยังมีมากกว่า (แต่อนาคตอะไรก็ไม่แน่นอน ขึ้นอยู่กับจะเอามาใช้ทำอะไรมากกว่า และมีคนทำมาให้ใช้อันไหนมากกว่า หรือถนัด Image เองแบบไหนมากกว่า สรุปชอบอันไหนใช้อันนั้นแล้วกันครับ)

    วิธีการติดตั้ง (Ubuntu 16.04)

    *Ref : https://docs.docker.com/engine/installation/linux/ubuntulinux/

    • เนื่องจากไม่มี docker ใน Ubuntu Package โดยตรง จึงต้องเพิ่ม source.list ก่อนดังนี้
      sudo apt-get update
      sudo apt-get install apt-transport-https ca-certificates
      sudo apt-key adv --keyserver hkp://ha.pool.sks-keyservers.net:80 --recv-keys 58118E89F3A912897C070ADBF76221572C52609D
      echo "deb https://apt.dockerproject.org/repo ubuntu-xenial maindeb https://apt.dockerproject.org/repo ubuntu-xenial main" | sudo tee /etc/apt/sources.list.d/docket.list
      deb https://apt.dockerproject.org/repo ubuntu-xenial maindeb https://apt.dockerproject.org/repo ubuntu-xenial main
    • จากนั้น Update Package ให้ล่าสุดอีกครั้ง
      sudo apt-get update
    • จากนั้นทำการติดตั้ง Linux Kernel Extra
      sudo apt-get install linux-image-extra-$(uname -r) linux-image-extra-virtual
    • ทำการติดตั้ง Docker Engine ดังนี้
      sudo apt-get install docker-engine
    • จากนั้นทำการ Start Docker Service
      sudo service docker start
    • ทำการทดสอบติดตั้ง Image Hello-World ดังนี้
      sudo docker run hello-world

    • จากนั้นสามารถใช้คำสั่งตรวจสอบ Version Docker ได้ดังนี้
      sudo docker version

    จะเห็นว่าเพียงแค่นี้ก็ได้ Docker มาใช้งานแล้วครับ แถมอัพเดต Version ให้ตลอดด้วยครับ