อ่านข้อความจากภาพ ด้วย Tesseract-OCR

OCR หรือ Optical Character Recognition จริง ๆ ก็มีใช้กันมานานมากแล้ว แต่การใช้งานก็จะผูกติดกับ Hardware พอสมควร แต่ในปัจจุบัน เราสามารถใช้ความรู้ด้าน Machine Learning / Deep Learning เพื่อให้คอมพิวเตอร์เข้าใจภาพได้ และสามารถนำมาประกอบกับเป็น Software สำหรับใช้งานของตนเองได้ ในบทความนี้ ทดลองใช้ Tesseract-OCR พี่พัฒนาโดย Google อ่านภาพ เอกสารที่ Print จาก Computer เป็นกระดาษ -> มีการเซ็นต์ชื่อ -> นำกลับมา Scan อีกครั้ง *** มันเป็น Paperless ตรงไหน ? กฏหมาย Digital Signature ก็มีแล้วนะ *** เอาเป็นว่า ดูผลงาน อ๊ะ บางคนบอกว่า เคยใช้แล้ว แต่ทำไมไม่ได้ผลอย่างนี้หล่ะ … Read more

python #07 Sentiment Analysis – IMDB

ต่อจาก python #06 – Sentiment Analysis ด้วย Keras + Tensorflow เนื่องจากเรา Train โมเดล ด้วย ประโยคเพียง 9 ประโยค ซึ่งประกอบด้วยคำ 19 คำ เมื่อถูกทดสอบด้วยคำที่ “ไม่เคยเจอมาก่อน” ก็จะไม่สามารถวิเคราะห์ได้ถูกต้องนัก ยิ่ง ถ้าเจอกับประโยคที่ ไม่มีคำที่เคยเจออยู่เลย ก็จะได้ Zero Vector ไปเลย (ในทางเทคนิค สามารถตั้งค่าห้ Unknown Word มี Index = 1 ได้) แก้ไขอย่างไร ? ตอนนี้ เปรียบเหมือนโมเดลเป็นเด็กเล็ก รู้จักคำแค่ 19 คำ พอมีคำใหม่ ๆ มาก็จะไม่เข้าใจ วิธีการคือ ต้องสอนคำใหม่ ๆ และรูปแบบประโยคใหม่ ๆ ให้เค้า … Read more

python #06 – Sentiment Analysis ด้วย Keras + Tensorflow

บทความนี้กล่าวแบบทางเทคนิค ไม่เน้นวิชาการ ทฤษฏีมากนัก Sentiment Analysis เป็นตัวอย่างที่ดีของการเริ่มต้นทำงานด้าน NLP (Natural Language Processing) เริ่มจากหาตัวอย่างประโยค (Inputs) และเป้าหมาย (Labels) แยกคำจากประโยค (Tokenization) แปลงให้เป็นตัวเลข (Word Representation) แล้วสอน NN (Train) วัดผล (Test/Evaluate) แล้วนำไปใช้ โดยป้อนประโยคเข้าไป แล้วดูว่า โมเดลของเราจะจัดให้เป็น Labels ใด (ในตัวอย่างนี้จะเป็น Multiclass (Multinomial) Classification) ดู Jupyter Notebook Input สมมุติเรามีตัวอย่างประโยคประมาณนี้แบ่งเป็น Positive, Neutral, Negative เพื่อไว้ใส่เพิ่มเติมได้ แล้วเอามารวมกันเป็น data โดยแปลงเป็น Numpy Array เพื่อสะดวกในการ Tokenization ต่อไป Tokenization ใน Keras มีเครื่องมือให้แล้ว … Read more

python #05 – การ Save/Load ตัวโมเดลจาก Keras แล้วนำไปใช้ใน Production Server

ต่อจาก python #03 – Train/Validation/Test and Accuracy Assessment with Confusion Matrix เมื่อสร้าง Neural Network Model แล้วทำการ Train/Test ปรับค่า Hyper parameters จนได้ผลเป็นที่พอใจแล้ว (Accuracy และ Confusion Matrix ให้ค่าที่รับได้) ก็สามารถเก็บ Model นี้เอาไว้ใช้งานภายหลัง ไม่ต้องเริ่มต้น Train ใหม่ โดยใช้คำสั่ง ก็จะได้ไฟล์ (ตามตัวอย่างนี้) ชื่อ example_model.h5 สามารถนำไปใช้บนเครื่อง Production ได้ โดยเรียกใช้งานด้วยคำสั่ง จากนั้น ก็จะสามารถใช้ mode.predict() เพื่อใช้งานได้ตามต้องการ ต่อ การสร้าง RESTful API สำหรับใช้งานจริง ง่าย ๆ ด้วย Flask และ … Read more