
ติดตั้ง FOG Project แบบใช้ Proxy DHCP
บทความนี้เป็นตอนต่อจาก “ติดตั้ง FOG Project บน Ubuntu 18.04 Server” หลังจาก แตกไฟล์ มาเสร็จแล้ว มาดูขั้นตอนติดตั้ง sudo ./installfog.sh เลือก 2 กด Y และ Enter กด N และ Enter ตัวอย่าง จะติดตั้ง fog server ให้ใช้ IP 10.0.100.254 และ ตอบ N ทุกคำถาม Would you like … ตรงนี้ ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับ DHCP server ว่า จะติดตั้งลงใน fog server มั้ย ตรวจสอบ พร้อมแล้ว ก็กด Y และ Enter สำหรับ Ubuntu 18.04 นั้น ถ้าเราติดตั้ง MySQL ไม่จำเป็นต้องตั้ง password เราก็ใช้คำสั่ง mysql เพื่อเข้าไปทำงานได้ ก็ต่อเมื่อ เราเป็น user ที่เป็น sudo จึงไม่ต้องตั้ง password แต่จะตั้งก็ได้ ไม่ผิด ใกล้เสร็จแล้ว ให้ไปที่หน้าเว็บ http://fog_server_ip/fog/management เพื่อตั้งค่า database แล้วกลับมาทำการตั้งค่าต่อ กด Enter สังเกต มีคำว่า Skipped ที่บรรทัด DHCP Server เสร็จกระบวนการติดตั้ง fog server ถัดไปจะติดตั้ง dnsmasq เพื่อเป็น Proxy DHCP ไปติดต่อกับ DHCP server ของตึก ทำตาม link นี้ https://wiki.fogproject.org/wiki/index.php?title=ProxyDHCP_with_dnsmasq พิมพ์คำสั่งเพื่อติดตั้ง ดังนี้ sudo apt install dnsmasq -y เสร็จแล้ว ไปหาเครื่องที่สามารถใช้งานแบบ กราฟิก GUI เพื่อ copy ข้อความหลาย ๆ บรรทัดได้ เช่น เปิด bash ใน Windows แล้วใช้คำสั่ง ssh เข้าไปยัง fog server IP ดังนี้ ssh mama@10.0.100.254 จะทำให้สะดวกกว่า คีย์เอง ทีละบรรทัด สร้างไฟล์ชื่อ fog.conf ไว้ภายในไดเรกทอรี /etc/dnsmasq.d ใส่ข้อความ ดังนี้ ข้อความที่จะให้ copy ไป paste คือ # Don’t function as a DNS server: port=0 # Log lots of extra information about DHCP transactions. log-dhcp # Set the root directory for files available via FTP. tftp-root=/tftpboot # The boot filename, Server name, Server Ip Address dhcp-boot=undionly.kpxe,,10.0.100.254 # Disable re-use of the DHCP servername and filename fields as extra #