• เตาะแตะไปกับ Docker ตอนที่ 2 Services (Scale and load-balancing)


    ในตอนนี้ เราก็จะขยับขึ้นไปอีก 1 level ใน hierachy ของ distributed application Stack Service (ในตอนนี้เราอยู่ที่นี่) Container Service 1 Service รันจาก 1 image โดยระบุ port ที่จะใช้ กำหนดจำนวน contrainer ที่จะรัน โดยที่เราสามารถเพิ่มจำนวน (Scale) service ให้รองรับโหลดมาก ๆ ได้ เราจะทำได้โดยการเขียน docker-compose.yml เริ่มต้นโดยการสร้างไฟล์นี้ไว้ใน directory ว่าง mkdir myservice cd myservice สร้างไฟล์ชื่อ docker-compose.yml ด้วยเอดิเตอร์ vi ดังนี้ vi docker-compose.yml คัดลอกเนื้อหาจากตัวอย่าง https://docs.docker.com/get-started/part3/#your-first-docker-composeyml-file โดยแก้ไขในบรรทัด image: username/repository:tag ให้เป็น image: woonpsu/docsdocker:part1…

    >> Read More <<

  • เตาะแตะไปกับ Docker ตอนที่ 1 Containers (Build, Ship and Run)


    ผมอ่าน Get Started จาก docs.docker.com แล้วคิดว่าพอเข้าใจว่า docker ใช้งานอย่างไรมากขึ้นในแง่ความหมายของ Docker – Build, Ship, and Run Any App, Anywhere ที่เป็นจุดเด่น หลังจากอ่านจบที่ผมเขียนในตอนที่ 1 นี้ ก็น่าจะเข้าใจคำว่า Container และในตอนถัดไปก็จะนั้นจะเล่าถึงความหมายของคำว่า Service และ Stack ตามลำดับ ในการทดสอบเพื่อเขียนบทความ ผมได้ติดตั้ง docker บน ubuntu server 64 bit Xenial 16.04 (LTS) และรุ่นของ Docker ที่ใช้คือ Docker version 17.06.0-ce, build 02c1d87 ซึ่ง Docker Software มี 2 ชนิด คือ Community…

    >> Read More <<

  • วิธีสร้าง Docker Swarm


    หลายคนคงจะได้ใช้งาน Docker มาแล้ว แต่อาจจะลองใช้งานบน 1 Physical Server กล่าวคือ สร้างหลายๆ container อยู่บนเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องเดียว >> ติดตั้ง docker 17.06.0 CE บน Ubuntu Docker Swarm เป็นเครื่องมือที่ติดมากับ Docker รุ่นตั้งแต่ 1.12 เป็นต้นมา (ปัจจุบัน ชื่อรุ่นคือ 17.06.0 CE) ก่อนอื่น มาตรวจสอบว่า เรากำลังใช้ Docker รุ่นไหนด้วยคำสั่ง docker version Docker Swarm ประกอบไปด้วย Master Node และ Worker Node โดยใน 1 Swarm สามารถมีได้ หลาย Master และ หลาย Worker ในตัวอย่างนี้ จะแสดงการเชื่อมต่อ…

    >> Read More <<

  • ติดตั้ง docker 17.06.0 CE บน Ubuntu


    ล่าสุด วิธีการติดตั้ง Docker รุ่น 17.06.0 CE ซึ่งรองรับ docker-compose version 3.3 ให้ติดตั้งด้วยวิธีนี้ sudo add-apt-repository “deb [arch=amd64] https://download.docker.com/linux/ubuntu $(lsb_release -cs) stable” sudo apt update sudo apt-get install apt-transport-https ca-certificates curl software-properties-common curl -fsSL https://download.docker.com/linux/ubuntu/gpg | sudo apt-key add – sudo apt-get update sudo apt-get install docker-ce

    >> Read More <<

  • การปรับเปลี่ยนรูปแบบการแสดงผลเส้นทางระหว่างพิกัดจุดบนแผนที่ Google Map APIs ด้วย DirectionsTravelMode


              ก่อนที่เราจะไปเริ่มเนื้อหาของบทความี้ ผู้เขียนต้องขอท้าวความเดิมตอนที่แล้วของบทความก่อน ซึ่งผู้เขียนได้พูดถึงวิธีการแสดงผลเส้นทางทางระหว่างพิกัดจุดบนแผนที่ Google Map APIs ด้วย DirectionsService ในเบื้องต้นไว้ (สามารถศึกษาเพิ่มเติมได้จากบทความ : การแสดงเส้นทางระหว่างพิกัดจุดบนแผนที่ Google Map APIs ด้วย DirectionsService ในเบื้องต้น )  สำหรับในบทความนี้ผู้เขียนจึงอยากต่อยอดการทำงาน และเพิ่มลูกเล่นให้กับการแสดงผลแผนที่ด้วยการปรับเปลี่ยนการกำหนดรูปแบบการแสดงผลของเส้นทางให้ผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์  ซึ่งเราจะให้ผู้ใช้สามารถเลือกรูปแบบในการแสดงผลได้ว่า ต้องการดูเส้นทางในรูปแบบใดตามรูปแบบ Mode ที่ผู้ใช้เลือกมา เช่น เส้นทางเดิน ทางถนน หรือขนส่งสาธารณะ เป็นต้น โดยวิธีการดังกล่าวนี้เหมาะกับเว็บไซต์ที่มีความเกี่ยวข้องกับความต้องการที่ต้องการทราบเส้นทางในแต่ละรูปแบบ เพื่อเป็นประโยชน์ในการนำไปประยุกต์ใช้กับงานของแต่ละท่านได้ค่ะ    ตัวอย่างผลลัพธ์ที่ได้จากบทความที่แล้ว  ซึ่งจากตัวอย่างโค้ดในบทความที่แล้ว การกำหนด DirectionsTravelMode เป็น DRIVIING ซึ่งในความเป็นจริงแล้วยังมีรูปแบบอื่นๆให้เลือกใช้ด้วยกันทั้งหมด 4 รูปแบบ ดังนี้ DRIVING (Default):เป็นโหมดตั้งต้นให้หากไม่ได้มีการกำหนดไว้ ซึ่งเป็นโหมดที่แสดงเส้นทางการขับขี่ด้วยยานพาหนะ BICYCLING: เป็นโหมดสำหรับเส้นทางที่เตรียมไว้สำหรับผู้ขับขี่จักรยาน TRANSIT: เป็นโหมดสำหรับแสดงเส้นทางระบบขนส่งสาธารณะ เช่น  รถบัส รถไฟ หรือแม้แต่เครื่องบิน เป็นต้น WALKING: เป็นโหมดสำหรับแสดงเส้นทางการเดินถนน           ซึ่งผู้เขียนจะขอยกตัวอย่างในส่วนของการเลือกรูปแบบเส้นทางและผลลัพธ์ของแต่ละรูปแบบ ดังตัวอย่างโค้ดต่อไปนี้ การกำหนดรูปแบบของเส้นทางในการแสดงผลบนแผนที่ โค้ด…

    >> Read More <<

  • การแสดงเส้นทางระหว่างพิกัดจุดบนแผนที่ Google Map APIs ด้วย DirectionsService ในเบื้องต้น


              หลังจากที่ก่อนหน้านี้ ผู้เขียนเคยได้มีโอกาสศึกษาบทความเกี่ยวกับความสามารถของ Google Map APIs มาบ้างแล้วนั้น ผู้เขียนเห็นว่าเรื่องเกี่ยวกับแผนที่นับเป็นอีกหัวข้อที่น่าสนใจในการพัฒนาเว็บไซต์ในปัจจุบัน โดยเฉพาะเว็บไซต์ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับสถานที่ และที่ตั้ง เพราะถือเป็นการเพิ่มลูกเล่นให้มีความตื่นตาตื่นใจยิ่งขึ้น โดยความสามารถของแผนที่ที่ใน Google Map APIs มีมาให้ใช้กันได้ในหลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับความต้องการของผู้พัฒนาแต่ละคน อาทิ การกำหนดพิกัดจุด การแสดงเส้นทาง การค้นหาละติจูด-ลองจิจูดจากการคลิกบนแผนที่ หรือจนกระทั่งการดึงพิกัดมาจากฐานข้อมูลเพื่อมาแสดงผล เป็นต้น โดยในความเป็นจริงแล้ว ลูกเล่นเกี่ยวกับการทำงานกับแผนที่ยังมีอีกมากมาย แต่ในบทความนี้ ผู้เขียนจะขอพูดถึงในส่วนของการแสดงเส้นทางระหว่างจุดสองจุดในแบบเบื้องต้นเพื่อทำความเข้าใจก่อนนำไปประยุกต์ใช้ ดังนี้ การแสดงเส้นทางโดยเบื้องต้นเมื่อทราบจุดพิกัดละติจูด-ลองจิจูดบนแผนที่ อ้างอิงไฟล์ที่ใช้ในการทำงานร่วมกับ Google Map APIs <script src=”https://maps.googleapis.com/maps/api/js?key=YOUR_API_KEY&libraries=places&language=en” async defer></script> ส่วนของ Javascript ที่ใช้ในการแสดงเส้นทางระหว่างพิกัด 2 จุดบนแผนที่ <script type=”text/javascript”> /////////การกำหนดค่าละติจูด-ลองจิจูดระหว่าง 2 ตำแหน่ง ในที่นี้คือ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และสวนสาธารณะหาดใหญ่ var markers = [ { “title”: ‘มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์’,…

    >> Read More <<

  • Itextsharp #4 คู่มือเทคนิคพื้นฐานการใช้งาน PdfTable สำหรับมือใหม่ ตอนที่ 2


    บทความนี้สำหรับผู้ที่ยังไม่ได้อ่านบทความก่อนหน้านี้ สามารถอ่านบทความได้ที่ Itextsharp #3 คู่มือเทคนิคพื้นฐานการใช้งาน PdfTable สำหรับมือใหม่ ตอนที่ 1 เพื่อความเข้าใจต่อเนื่องกันนะครับ โดยเนื้อหาในบทความนี้เป็นส่วนของใช้งาน Table ที่ผู้เขียนเองใช้ในการทำงานคือการทำ Nest Table นั้นเองโดยปกติการสร้างเอกสาร1ใบ ผู้เขียนจะใช้ Table ตัวแรกในการกำหนดรูปแบบหน้าตาของเอกสาร การจัดตำแหน่งสัดส่วนต่างๆ หลังจากนั้นก็ใช้ Table ซ้อนเข้าไปตามส่วนต่างๆตามที่ออกแบบไว้มาจัดการส่วนของข้อมูล จึงจำเป็นต้องใช้งาน Nest Table เราไปดูตัวอย่างรูปกันก่อนดีกว่าครับ จากตัวอย่างจะพบว่าสำหรับคนที่เขียนโปรแกรมก็คือการซ้อนตารางปกติที่พบเจอได้ในการเขียนโปแกรม จากรูปคือเอาTable2 ใส่ใน Cell ที่1ของ Table1 หรือพูดภาษาของเขียนโปรแกรมคือเขียน Table2 ลงใน <TD> แรกของ Table1 นั้นเอง ซึ่งถามว่าทำงานคล้ายๆกับตารางทั่วไปแล้วสามารถรวมCell ก่อนเพิ่มตารางได้ไหมใน ItextSharp ทำได้เหมือนกันครับ ตามรูปเลยครับ จากตัวอย่างเป็นการรวม Collumn แล้วทำการเพิ่ม Table2 เข้าไปโดยใน ItextSharp เรากำหนดCollumn ของTable1และTable2 เท่ากัน ตัวโปรแกรมจะจัดขนาดของ…

    >> Read More <<

  • การเรียกใช้งาน (Register) Bootbox.js ด้วย C#.NET


    ในการออกแบบเว็บฟอร์มบันทึกข้อมูลลงฐานข้อมูลนั้น นักพัฒนาเว็บแอ๊พปลิเคชั่นส่วนใหญ่จะออกแบบเป็นลำดับขั้นตอนการทำงานประมาณนี้ ผู้ใช้เปิดเว็บฟอร์มขึ้นมาด้วยเว็บบราวเซอร์ ผู้ใช้กรอกข้อมูลลงในเว็บฟอร์ม ผู้ใช้กดปุ่มบันทึกข้อมูล ระบบตรวจสอบ (Validate) ข้อมูลที่ผู้ใช้กรอกเข้ามา ถ้าผ่านก็บันทึกข้อมูลลงฐานข้อมูล ถ้าไม่ผ่านก็จะแจ้งข้อความแจ้งเตือนผู้ใช้งานให้ตรวจสอบข้อมูลใหม่อีกครั้ง ระบบจะแจ้งผลการบันทึกข้อมูลว่า “บันทึกข้อมูลสำเร็จ” กรณีที่บันทึกสำเร็จ หรือ “เกิดข้อผิดพลาดในการบันทึกข้อมูล” ในกรณีที่มีข้อผิดพลาด การพัฒนาเว็บด้วย ASP.NET นั้นในขั้นตอนที่ 4 จะถูกเขียนด้วยโค้ด C#.NET ซึ่งเป็น Server Side Script ส่วนขั้นตอนที่ 5 นั้นเราสามารถใช้ Dialog ของ Bootbox.js ซึ่งเป็น Client Side Script มาช่วยได้ ซึ่งในบทความนี้จะแสดงวิธีการเขียนโค้ด C#.NET ให้เรียกใช้ Bootbox Dialog ได้เลย  (อ่านบทความ การสร้าง JavaScript Dialog ด้วย Bootbox.js ได้ที่นี่) และสร้างเป็นฟังก์ชั่นสำเร็จรูปไว้เรียกใช้งานใหม่ได้ (Reuse)   การรันคำสั่ง Bootbox.js…

    >> Read More <<