วิธีการสร้าง Service ให้ Start OpenSSH Server โดยอัตโนมัติเมื่อเปิดเครื่องผ่าน PowerShell Run as Administrator และทำการเปิด Firewall ให้เข้าถึงได้
Start-Service sshd
# OPTIONAL but recommended:
Set-Service -Name sshd -StartupType 'Automatic'
# Confirm the Firewall rule is configured. It should be created automatically by setup.
Get-NetFirewallRule -Name *ssh*
# There should be a firewall rule named "OpenSSH-Server-In-TCP", which should be enabled
# If the firewall does not exist, create one
New-NetFirewallRule -Name sshd -DisplayName 'OpenSSH Server (sshd)' -Enabled True -Direction Inbound -Protocol TCP -Action Allow -LocalPort 22
ทดสอบเข้าใช้งาน (สำหรับเครื่องที่ join office365 แนะนำให้เข้าผ่าน local account ครับ)
ssh [username]@[Windows Server IP]
การใช้งานต้องใช้คำสั่งของ powershell นะครับ ไม่ใช่ shell script ของ linux ดังนั้นการกดออกต้องใช้คำสั่ง exit
ในแง่เดียวกันสามารถทำ ssh tunnel ไปมาระหว่าง Windows และ Linux ได้นะครับ แต่คงจะไม่ได้เขียน Blog ในส่วนนี้ครับ แต่จะไม่มี command ssh-copy-id ใน windows ให้ใช้คงต้อง ssh-keygen แล้ว copy key ไปสร้างในเครื่อง linux เองครับ
ซึ่งเราสามารถเลือกได้ว่าการเลือก Session ให้วิธีเลือกแบบไหน ในรูปจะเป็นแบบ Round Robin ซึ่งในกรณีมี Storage ซึ่ง Target Portal จะเป็น IP ที่เลือกในขั้นตอนก่อนหน้า
โดยสรุปแล้วสามารถมาดูได้ที่ Disk Management ใน Tab MPIO ว่ามี Path ในการ Active กี่ Path ถ้ามีมากกว่า 1 แสดงว่ามีการตั้งค่า Multi-Path เรียบร้อยแล้ว
สุดท้ายถ้าอยากรู้ว่าการตั้งค่า Work ไหมอาจจะต้องทำการตรวจสอบ Traffic ที่ Switch ว่ากระจายทุก Port ไหม หรือลองปิด Switch หรือถอดสายทิ้งสักข้าง หรือ ถอดสายที่ Server ออกทิ้งสัก Port ดูว่ายังสามารถทำงานได้หรือไม่ (ซึ่งผมไม่ได้ทดสอบ Capture มาให้ดู เพราะมีเวลาไม่มากพอให้ทดสอบ)
สุดท้ายอาจจะงงว่าทำไปทำไมหลัก ๆ ข้อแรกคือเพื่อ Load Balance การใช้งานให้กระจายทุก Port ที่ SAN Storage ทำให้ได้ประสิทธิภาพสูงสุด (ซึ่งต้องมี Server มาต่อหลายตัว โดยการเชื่อมต่อต้องไม่ทำ link aggregation ต้อง FIX IP ต่อ Port) ข้อสองคือในกรณีที่ Port ใดมีปัญหาก็ยังสามารถใช้งานต่อได้ ซึ่งการทำ MPIO ดีกว่าการทำ Link Aggregation ในด้าน Performance ที่ทำได้ดีกว่า เพราะสามารถกระจายได้ลึกในระดับ Session (การทำ Multi Session per Connection ผ่าน Link Aggregation ทำไม่ได้เฉพาะ Windows นะครับ อาจจะทำได้ใน OS อื่น ๆ ) สามารถอ่านเพิ่มเติมผลการทดสอบได้ที่ https://www.starwindsoftware.com/blog/lacp-vs-mpio-on-windows-platform-which-one-is-better-in-terms-of-redundancy-and-speed-in-this-case-2
6. ไปที่ General – Connection Name = ตั้งชื่ออะไรก็ได้ – Host Name / IP Address = localhost – Port = 3306 – User Name = root หรือ User ที่เรา Add ใน phpmyadmin – Password = Password ที่เรา Add ใน phpmyadmin