PSU Internet was Affected by Submarine Cable

NT คาดว่าจะแก้ไขกลับมาให้เป็นปกติได้ประมาณวันที่ 1 มี.ค. 2566 PSU ยังคงมีการใช้ Internet ผ่าน อีก 2 ISP ได้แก่ UniNet และ True ซึ่งก็มีทางเชื่อม Internet ผ่าน NT-IIG วงรีทางซ้ายในแผนผัง http://internet.nectec.or.th/webstats/show_page.php?ZRXlBGci8PKBfyGoc7U+YUMy0Mxa4ePxBhBlnwqcod1s56C+MB1w8PH7zxtoDLTv3lyjGbqHqI3kpjAsGrb3Y0vlVN/aAcvDDim6ggNEPEVG0g7Tda6BWRbRQiS8DM5D     สาเหตุการขัดข้อง o เกิดจากการขัดข้องของระบบเคเบิลใต้น้ำระหว่างประเทศ ได้แก่ ระบบ AAG, AAE1 และ APG บริเวณน่านน้ำประเทศสิงคโปร์, ฮ่องกง และประเทศไทย ในช่วงเวลาที่ทับซ้อนพร้อมกันหลายระบบ ทำให้วงจร Trunk Internet Gateway เชื่อมต่อไปยังภูมิภาคต่าง ๆเกิดการ Congestion ผลกระทบการใช้งานบริการ International Internet Gateway oทำให้การใช้งาน Internet หรือ Application แบบ Real time โดยเฉพาะปลายทางประเทศสิงคโปร์ … Read more

Nessus Essentials

เครื่องมือตรวจสอบช่องโหว่ Nessus Essentials จากเว็บไซต์ให้บริการตรวจสอบช่องโหว่ในระบบได้ฟรีๆ ไม่มีค่าใช้จ่าย เช่น https://www.shodan.io/ ซึ่งบริการฟรี สถานะ Last Seen แสดงวันที่ Shodan แวะเวียนมาตรวจสอบให้ล่าสุดจึงเกิดคำถามว่า ถ้าเราได้อัพเดตส่วนประกอบพื้นฐานต่างๆ เช่น หากใช้ Ubuntu ก็ทำตาม วิธี https://sysadmin.psu.ac.th/2023/02/14/ubuntu-oval/ ที่ Ubuntu มีให้แล้วจะรู้ได้อย่างไรว่า ช่องโหว่ต่างๆ ได้ถูกปิดให้ปลอดภัยขึ้นแล้ว เครื่องมือที่สำนักนวัตกรรมดิจิทัลและระบบอัจฉริยะ diis.psu.ac.th มีใช้สำหรับตรวจสอบช่องโหว่คือNessus Professional ซึ่งมีค่าใช้จ่ายรายปี และการใช้งาน ผู้ดูแลไอทีส่วนงานต่างๆ สามารถส่งอีเมลถึง itoc@psu.ac.thแจ้งความประสงค์ ขอให้ตรวจสอบช่องโหว่เว็บไซต์ URL…วันที่… เวลา… ซึ่งจะใช้เวลาตรวจสอบประมาณ 1-2 ชั่วโมง itoc@psu จะส่งรายงานผลการตรวจสอบจาก Nessus ให้กับท่านตามอีเมล @psu.ac.th ที่แจ้งความประสงค์เข้ามาตามลำดับคำขอ อย่างไรก็ตาม ยังมีอีกทางเลือกหนึ่ง ที่ผู้ดูแลไอทีส่วนงานต่างๆ สามารถสมัครใช้บริการ Nessus ได้แบบไม่มีค่าใช้จ่ายNessus Essentialshttps://www.tenable.com/products/nessus/nessus-essentialsซึ่งรองรับ 16 … Read more

Ubuntu OVAL

เครื่องมือตรวจสอบช่องโหว่สำหรับอูบุนตู เมื่อได้รับทราบข้อมูลช่องโหว่ของลีนุกซ์อูบุนตูที่ดูแลอยู่จากเว็บไซต์ให้บริการตรวจสอบช่องโหว่ในระบบได้ฟรีๆ ไม่มีค่าใช้จ่าย เช่น https://www.shodan.io/ ซึ่งบริการฟรี สถานะ Last Seen แสดงวันที่ Shodan แวะเวียนมาตรวจสอบให้ล่าสุดจึงเกิดคำถามว่า ถ้าเราได้อัพเดตส่วนประกอบพื้นฐานต่างๆ ที่ Ubuntu มีมาให้ด้วยคำสั่งsudo apt updatesudo apt dist-upgradeแล้วจะรู้ได้อย่างไรว่า ช่องโหว่ต่างๆ ได้ถูกปิดให้ปลอดภัยขึ้นแล้วตามคำแนะนำของ Ubuntu ที่มีประกาศข่าวเรื่องความปลอดภัยเกี่ยวกับอูบุนตูไว้ที่ https://ubuntu.com/security/notices อูบุนตูมี Ubuntu OVAL (Open Vulnerability and Assessment Language) ไว้ให้ใช้ตรวจสอบช่องโหว่ ซึ่งใช้โปรแกรมชื่อ OpenSCAP เพื่อทำรายงานช่องโหว่ให้ดูได้เอง ตามขั้นตอนต่อไปนี้ ตัวอย่างการใช้งานจริงกับเครื่องบริการทดสอบความเร็วอินเทอร์เน็ต Ookla Server ซึ่งใช้เป็นตัวอย่างแสดง

DNS BIND Severity HIGH 7.5 Update

แจ้ง SysAdmin ที่มีการดูแล DNS Server ที่ใช้ BIND ให้ปรับปรุงด่วนครับUbuntu 20.04 มี bind9 (1:9.16.1-0ubuntu2.12) ที่แก้ไขช่องโหว่ 1of4 แล้วตั้งแต่ 25Jan2023Ubuntu 22.04 มี bind9 (1:9.18.1-1ubuntu1.3) ที่แก้ไขช่องโหว่ 3of4 แล้วตั้งแต่ 25Jan2023ท่านใดเพียงใช้ Ubuntu Update ล่าสุดตาม OS แล้วได้ bind9 รุ่นใหม่ โดยไม่ต้องติดตั้ง BIND ใหม่ด้วยตนเอง?ผมยังไม่ทราบ ฝากช่วยให้ข้อมูลด้วย ขอบคุณมากครับ ขอบคุณคุณ เกรียงไกร หนูทองคำ ที่ให้ข้อมูล เกี่ยวกับการ Update ของ Ubuntu 20.04 ที่ยังมี Security Update ขยายต่อให้จนถึงต้นปี 2030https://ubuntu.com/about/release-cycleด้วยบางระบบปรับไปใช้ 22.04 แล้วบริการเก่าขัดข้อง ทำให้ต้องอยู่กับ 20.04 แต่ก็ขอให้ … Read more

วิธีติดตั้ง HTTPS ด้วย Certificate ของ Let’s Encrypt แบบ wildcard สำหรับ Intranet ที่ไม่สามารถเข้าถึงได้จาก Internet

ความเดิมตอนที่แล้ว ต่อจาก วิธีติดตั้ง HTTPS ด้วย Certificate ของ Let’s Encrypt ซึ่ง เครื่องที่จะขอใช้ Certificate นั้น ต้องสามารถ “เข้าถึงได้” จาก Internet เพราะ จะต้องสร้าง File ไปวางในตำแหน่งที่ Let’s Encrypt CA สามารถเข้ามาตรวจสอบได้ว่าเป็น ผู้ที่มีสิทธิ์ในการจัดการ Domain Name นั้นจริง ปัญหาคือ ในองค์กร ถ้าจะให้มีเซิร์ฟเวอร์ ที่สามารถเข้าถึงได้ จาก Internet ต้องเปิด Firewall ขององค์กร ซึ่ง ซับซ้อน และ มีความเสี่ยง แล้ว ถ้ามีเครื่องภายใต้โดเมนเดียวกันอีกหลายเครื่อง ต้องทำทุกเครื่อง ซึ่งไม่สะดวกเลย ต้องเข้าใจก่อน Let’s encrypt มีวิธีการตรวจสอบความเป็นเจ้าของ Domain Name หรือที่เรียกว่า “Challenge” หลายวิธี … Read more