ติว “DHCP for IPv6 (DHCPv6)”

Workshop Lab guide dhcpv6 https://sharedrive.psu.ac.th/public.php?service=files&t=d101ba43953c1a7c493b0d507db3b333 กิจกรรมของ CoP PSU sysadmin ของเราในลำดับต่อไป ติว “DHCP for IPv6 (DHCPv6)” วันที่ 31 พ.ค. 56 เวลา 09.00 – 16.00 น. ที่ห้อง 107 อาคารศูนย์คอมพิวเตอร์ ม.อ.หาดใหญ่ เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจในการจัดการระบบเครือข่ายสำหรับรองรับการใช้งาน IPv6 และฝึกปฏิบัติการติดตั้ง DHCPv6 สำหรับหน่วยงาน รายละเอียดหัวข้อติว 9.00-10.15น. IPv6 Overview -IPv6 Addressing -IPv6 Address Allocations -IPv6 Header Types, Formats, and Fields -IPv6 Extension Headers -Internet Control Message Protocol for IPv6 (ICMPv6) -IPv6 and Routing -IPv6 and the Domain Name System (DNS) 10.30-12.00น. Dynamic Host Configuration Protocol (DHCP) for IPv6 -Specification Overview -Difference from IPv4 Standards -Security Ramifications -Unknown Aspects 13.00-16.00น. ทำ LAB ติดตั้งและคอนฟิก DHCPv6 บน Ubuntu วิทยากร 1. พรพิทักษ์ สันติภาพถาวร ศูนย์คอมพิวเตอร์ ผู้ช่วยวิทยากร 2. โกศล โภคาอนนท์ ศูนย์คอมพิวเตอร์ หากท่านสนใจรีบแจ้งอีเมลมาที่ผมโดยตรง ( wiboon.w@psu.ac.th ) หรือทางเฟสบุ๊คของกลุ่ม และผมจะนำรายชื่อมาใส่ไว้ด้านล่างของบล็อกนี้ รายชื่อผู้เข้าร่วม วิบูลย์ วราสิทธิชัย ศูนย์คอมพิวเตอร์ วิศิษฐ โชติอุทยางกูร คณะทันตแพทยศาสตร์ (อาหารมังสวิรัติ) สุนิสา จุลรัตน์ สถาบันสันติศึกษา ก้องชนก ทองพรัด กองบริการการศึกษา สำนักงานอธิการบดี ชัยวัฒน์  ศรีจันทร์กุล คณะวิทยาการจัดการ ฉัตรชัย จันทร์พริ้ม ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ อาทิตย์ อรุณศิวกุล คณะศิลปศาสตร์ สุนทรี นภิบาล ศูนย์คอมพิวเตอร์ นิติ โชติแก้ว คณะการแพทย์แผนไทย จรัล บูลวิบูรณ์ คณะศิลปศาตร์ ประทีป โคตัน ศูนย์คอมพิวเตอร์ ศิริพงษ์ ศิริวรรณ คณะเภสัชศาสตร์ ศุภกร  เพ็ชรรัตน์ คณะทันตแพทยศาสตร์ ทิพาพร พัฒนศิริ ศูนย์คอมพิวเตอร์ หฤทัย สมบูรณ์รุ่งโรจน์ ศูนย์คอมพิวเตอร์ คณกรณ์ หอศิริธรรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ เกรียงไกร หนูทองคำ ศูนย์คอมพิวเตอร์ สาวิตรี วงษ์นุ่น คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ลักขณา ฉุ้นทิ้ง คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สงกรานต์ มุณีแนม ศูนย์คอมพิวเตอร์ ยุวภา โฆสกิตติกุล คณะทรัพยากรธรรมชาติ นวพล เทพนรินทร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์ ณัฏฐิกา หัตถกรรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ ภูเมศ จารุพันธ์ คณะพยาบาลศาสตร์ กฤตกร อินแพง คณะพยาบาลศาสตร์ พงศ์กานต์ กาลสงค์ คณะแพทยศาสตร์ บัณฑิต ชนะถาวร คณะทันตแพทยศาสตร์ เอกภพ ถาวรจิตร สำนักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลงฯ (อาหารมังสวิรัติ) กิตติพัฒน์ อุบลกาญจน์

Read More »

กิจกรรม CoP PSU sysadmin KM3 “ระบบปฏิบัติการโอเพนซอร์ส Linux Mint มีดีกว่าทำไมเพิ่งมาบอก”

กิจกรรม CoP PSU sysadmin ลำดับถัดไปของเรา KM3 “ระบบปฏิบัติการโอเพนซอร์ส Linux Mint มีดีกว่าทำไมเพิ่งมาบอก” วันที่ 15 มี.ค. 56 เวลา 09.00 – 12.15 น. ห้อง 102 ศูนย์คอมพิวเตอร์ ม.อ. หาดใหญ่ครับ ครั้งนี้จะจัดต่างจากที่ผ่านมา คือ ขอจัดเป็นรายการเสวนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น โดยผมได้เรียนเชิญผู้ทรงคุณวุฒิมาร่วมงานด้วย ผู้สนใจตอบรับเข้าร่วมได้ที่อีเมล wiboon.w@psu.ac.th หรือที่เฟสบุ๊ค http://www.facebook.com/groups/psu.sysadmin/ ก็ได้ครับ (ดูรายชื่อผู้แจ้งเข้าร่วม) เสวนา เรื่อง “แนวทางในการสนับสนุนให้เกิดการใช้ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการโอเพนซอร์สพร้อมฟรีแวร์เพิ่มมากขึ้น” (ระบบปฏิบัติการโอเพนซอร์ส Linux Mint มีดีกว่าทำไมเพิ่งมาบอก) กลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วม ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ ผู้ดูแลระบบ และผู้ดูแลระบบเครือข่ายที่ทำงานอยู่ในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และ ผู้สนใจทั่วไปที่ต้องการลดค่าใช้จ่ายในการจ่ายค่าลิขสิทธิ์การใช้ซอฟต์แวร์ วันที่จัด 15 มีนาคม 2556 เวลา 09.00 – 12.15 น. สถานที่จัด ห้อง 102 ศูนย์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เนื้อหา 1.เป็นการแนะนำระบบปฏิบัติการโอเพนซอร์สชื่อ Linux Mint ที่ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายลิขสิทธิ์การใช้งาน Linux ถึงจุดเปลี่ยน… มาทำความรู้จักกับ Linux Mint ใช้ Windows จนชิน…ปี 2556 แล้วลองสลับมาใช้ Linux ดูไหม Windows ทำได้ Linux หล่ะทำได้ไหม แล้วอะไรที่ Windows ทำไม่ได้ 2.เล่าเรื่องที่ม.อ.ซื้อ Microsoft Licenses อย่างไร อะไรบ้าง และใครได้ใช้ประโยชน์ Microsoft มีทั้งจุดดีและจุดด้อยครับ หาก ม.อ. ไม่ซื้อเลยก็คงมีคนจำนวนไม่น้อยหาใช้ของเถื่อนมาใช้อยู่ดี ทำอย่างไรให้เกิดประโยชน์สูงสุดในเงินที่ลงทุนไป สิทธิประโยชน์ที่ Microsoft ให้ ม.อ. มีอะไรบ้าง บุคลากร, นักศึกษา, ห้อง Lab สถิติการดาวน์โหลดและการลงทะเบียนเป็นจำนวนเท่าไหร่ 3.เสวนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น “แนวทางในการสนับสนุนให้เกิดการใช้ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการโอเพนซอร์สพร้อมฟรีแวร์เพิ่มมากขึ้น” ตัวอย่างหัวข้อในการเสวนา การใช้ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการโอเพนซอร์สพร้อมฟรีแวร์เพื่อนำไปสู่การลดค่าใช้จ่ายในการซื้อซอฟต์แวร์จริงหรือไม่? มีคณะไหนในชุมชน ม.อ. ประกาศไม่สนับสนุนซอฟร์แวร์เถื่อนหรือคิดจะทำแบบเป็นรูปธรรมบ้าง? อนาคตของ open source ใน ม.อ. ทำอย่างไรจะผลักดันให้เกิดขึ้น? การทำวิจัยสถาบันเพื่อสำรวจการใช้งานแต่ละแห่งโดยเฉพาะธุรการ อาจารย์ ใช้ Microsoft ทำอะไร ใช้อะไรบ้าง จะช่วยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงหรือไม่? การใช้ Linux มีข้อดีจริงหรือไม่ในเรื่องเหล่านี้เมื่อเทียบกับ Microsoft? – ลดปริมาณการละเมิดลิขสิทธิ์ (แผ่นเถื่อน) – นักศึกษาได้ประโยชน์ในเชิงพัฒนาต่อยอดความรู้ด้าน open source – เกิดการวิจัยด้านซอฟต์แวร์ open source ใมหาวิทยาลัยเพื่อให้เหมาะสมกับมหาวิทยาลัยวิจัย – ม.อ.เป็นตัวอย่างการใช้ซอฟต์แวร์ open source อย่างจริงจังเป็นการสร้างจุดแข็งให้กับองค์กร – ม.อ.บริการวิชาการให้กับชุมชน อบรมการใช้งาน Linux ให้กับชุมชนและท้องถิ่น กำหนดการ 09.00-10.00 น. แนะนำ Linux Mint โดยคุณศิริพงษ์ ศิริวรรณ ผู้ดูแลระบบคอมพิวเตอร์ คณะเภสัชศาสตร์ ม.อ. 10.00-10.15 น. พักเบรค 10.15-10.50 น. บอกเล่าเรื่อง Microsoft Licences ที่ม.อ.ซื้อ โดยเกรียงไกร หนูทองคำ ผู้ดูแลระบบคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์ ม.อ. 10.50-12.15 น. เสวนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น “แนวทางในการสนับสนุนให้เกิดการใช้ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการโอเพนซอร์สพร้อมฟรีแวร์เพิ่มมากขึ้น” ร่วมเสวนาโดย คุณวิบูลย์ วราสิทธิชัย ประธานชมรมโอเพนซอร์สและฟรีแวร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รศ.ปัญญรักษ์ งามศรีตระกูล ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล ประธานชมรมโอเพนซอร์สและฟรีแวร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์สมัยแรก รศ.ดร.วรวุธ วิสุทธิ์เมธางกูร รองอธิการบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษาและศิษย์เก่าสัมพันธ์ รศ.ดร.มนตรี กาญจนะเดชะ ผู้อำนวยการศูนย์คอมพิวเตอร์ 12.15-13.00 น.

Read More »

ติว “VirtualBox Networking + vi + Shell Scripts”

กิจกรรมของ CoP PSU sysadmin ของเราในลำดับต่อไป จะจัดขึ้นในวันที่ 28 ก.พ. 56 (พฤหัส) เวลา 09.00 – 16.30 น. มีอาหารเที่ยงเลี้ยง ที่ห้อง 101 อาคารศูนย์คอมพิวเตอร์ ม.อ.หาดใหญ่ หากท่านสนใจรีบแจ้งอีเมลมาที่ผมโดยตรง ( wiboon.w@psu.ac.th ) หรือทางเฟสบุ๊คของกลุ่ม และผมจะนำรายชื่อมาใส่ไว้ด้านล่างของบล็อกนี้ (ดูรายชื่อผู้เข้าร่วมติว) ติว “VirtualBox Networking + vi + Shell Scripts” กลุ่มเป้าหมาย ผู้ดูแลระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่ายของม.อ.วิทยาเขตต่างๆ วันและเวลา วันที่ 28 ก.พ. 56 เวลา 09.00 – 16.30 น. สถานที่และเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ ห้อง 101 เครื่องคอมพิวเตอร์จำนวน 26 เครื่อง (ผู้เรียนจะนำโน้ตบุ๊คมาเองก็ได้) ระบบปฏิบัติการที่ใช้ Linux Mint/Ubuntu Microsoft Windows (เครื่องคอมพิวเตอร์ในห้อง 101) เนื้อหา ฝึกปฏิบัติใช้ Oracle VirtualBox เพื่อทดสอบเซิร์ฟเวอร์ 1 เครื่อง และทดสอบระบบงานที่มีเซิร์ฟเวอร์และไคลเอ็นต์หลายเครื่องอยู่ภายใน VirtualBox Networking ฝึกปฏิบัติการใช้เอดิเตอร์ vi เครื่องมือที่จำเป็นสำหรับแอดมิน ฝึกปฏิบัติการเขียนโปรแกรม Linux Shell Script รายละเอียดหัวข้อติว ช่วงเช้า VirtualBox Networking (NAT, Bridged Adapter, Internal Network, Host-only Adapter) แต่ละแบบทำงานอย่างไร โปรแกรมที่นำมาใช้เป็น Domain Name Resolver เพื่อทดสอบใน VirtualBox Networking ซอฟต์แวร์ที่นำมาใช้ทำเป็น Router แบ่ง subnet มากกว่า 1 net เพื่อทดสอบใน VirtualBox Networking ช่วงบ่าย เอดิเตอร์ vi แนะนำโปรแกรม Shell Script จากตัวอย่างในงานจริง ทั้งแบบรันตามต้องการ และสั่งทำงานผ่าน crontab การเขียนโปรแกรม Shell Script วิทยากร วิบูลย์ วราสิทธิชัย ศูนย์คอมพิวเตอร์ อ.ฉัตรชัย จันทร์พริ้ม อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.อ. รายชื่อผู้แจ้งเข้าร่วมติว ศิริพงษ์ ศิริวรรณ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ คณะเภสัชศาสตร์ วิศิษฐ โชติอุทยางกูร งานเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะทันตแพทยศาสตร์ (อาหารมังสวิรัติ) เกรียงไกร หนูทองคำ ศูนย์คอมพิวเตอร์ ม.อ.หาดใหญ่ ชัยวัฒน์ ศรีจันทร์กุล คณะวิทยาการจัดการ นิติ โชติแก้ว คณะการแพทย์แผนไทย อาทิตย์ อรุณศิวกุล งานสารสนเทศ คณะศิลปศาสตร์ ธีรพันธุ์ บุญราช ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ คณะเภสัชศาสตร์ หฤทัย สมบูรณ์รุ่งโรจน์ ศูนย์คอมพิวเตอร์ ม.อ.หาดใหญ่ ทิพาพร พัฒนศิริ ศูนย์คอมพิวเตอร์ ม.อ.หาดใหญ่ เอกภพ ถาวรจิตร สำนักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร (อาหารมังสวิรัติ) ภูเมศ จารุพันธ์ สารสนเทศ คณะพยาบาลศาสตร์ ศุภกร  เพ็ชรรัตน์ คณะทันตแพทยศาสตร์ (จอมขวัญ สุวรรณมณี สารสนเทศ คณะพยาบาลศาสตร์ แจ้งยกเลิก) กฤตกร อินแพง สารสนเทศ คณะพยาบาลศาสตร์ (fb: Nick Justice) กิตติพัฒน์ อุบลกาญจน์ สำนักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลงฯ ปิยะวัชร์ จูงศิริ คณะวิศวกรรมศาสตร์ กฤษณะ คีรีวัลย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ พัฒนาวดี ศิวติณฑุโก คณะวิศวกรรมศาสตร์ สุวัฒน์

Read More »

กิจกรรม CoP PSU sysadmin KM2 “Network Security”

กิจกรรม CoP PSU sysadmin ลำดับถัดไปของเรา KM2 “Network Security” วันที่ 15 ก.พ. 56 เวลา 09.30 – 14.00 น. ห้อง 102 ศูนย์คอมพิวเตอร์ ม.อ. หาดใหญ่ครับ ผมจัดงานแบบครั้งที่แล้วคือมาเจอกัน 09.15 กินกาแฟกันก่อน แล้วเริ่มสัก 09.30-09.40 น. ตอบรับเข้าร่วมได้ที่อีเมล wiboon.w@psu.ac.th หรือที่เฟสบุ๊ค http://www.facebook.com/groups/psu.sysadmin/ ก็ได้ครับ มีอาหารเที่ยงเลี้ยงด้วย โปรดแจ้งประเภทอาหารที่ท่านรับประทานได้ครับ ขอบคุณครับ (ดูรายชื่อ) ในครั้งนี้ผมได้รับเกียรติจากเพื่อนๆมาช่วยแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันหลายคน มี สงกรานต์, พรพิทักษ์, โกเมน, คณกรณ์ และประทีป หัวข้อที่ผมได้รับเกียรติจากเพื่อนๆมาช่วยแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในครั้งนี้ คือ 1. สงกรานต์ มุณีแนม มาพูดเรื่อง – อัปเดต PSU Security Policy – อัปเดต ประกาศการควบคุมการใช้งานเครือข่าย ที่ใช้ในปัจจุบัน – Network security monitoring how-to and tools – Wi-Fi security ประสบการณ์ที่พบและการป้องกัน 2. พรพิทักษ์ สันติภาพถาวร (เล็ก) มาพูดเรื่อง – firewall/network authentication ระดับมหาวิทยาลัย (อัปเดต Palo Alto Firewall เช่น ทำหน้าที่ใดบ้าง และได้ผลเป็นอย่างไร) – การเก็บบันทึก traffic log จาก firewall – เรื่องที่ต้องการได้รับความร่วมมือจากแอดมินคณะ – แนวทางความร่วมมือต่อจากอีเมลที่ส่งจาก Palo Alto Firewall – vpn 3. โกเมน เรืองฤทธิ์ (ใหญ่) มาพูดเรื่อง – firewall/network authentication ระดับคณะ/หน่วยงาน (เช่น ทำหน้าที่ใดบ้าง และได้ผลเป็นอย่างไร) – การเก็บบันทึก traffic log – ปัญหาของผู้ใช้งานที่พบในการให้บริการ 4. คณกรณ์ หอศิริธรรม (หนุ่ม) มาพูดเรื่อง – server security (web and mail) – host firewall ด้วย shorewall และ fail2ban (ผมขอร่วมด้วยตรงนี้) 5. ประทีป โคตัน (ทีป) มาพูดเรื่อง – กล้องวงจรปิดของมหาวิทยาลัย (อัปเดตข้อมูล) – กล้องวงจรปิดในหน่วยงานและซอฟต์แวร์ที่ใช้ แล้วพบกันครับ ขอบคุณครับ วิบูลย์ ผู้ประสานงาน CoP PSU sysadmin รายชื่อผู้นำการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สงกรานต์ มุณีแนม ศูนย์คอมพิวเตอร์  ม.อ.หาดใหญ่ พรพิทักษ์ สันติภาพถาวร ศูนย์คอมพิวเตอร์  ม.อ.หาดใหญ่ โกเมน เรืองฤทธิ์ คณะแพทย์ฯ คณกรณ์ หอศิริธรรม ศูนย์คอมพิวเตอร์ ม.อ.หาดใหญ่ ประทีป โคตัน ศูนย์คอมพิวเตอร์ ม.อ.หาดใหญ่ รายชื่อผู้เข้าร่วม ภัทธ์ เอมวัฒน์ สำนักวิทยบริการ ม.อ.ปัตตานี ธีรวัฒน์ แตระกุล ฝ่ายวิจัยและบริการ คณะเภสัชศาสตร์ ธีรพันธุ์ บุญราช คณะเภสัชศาสตร์ อาทิตย์ อรุณศิวกุล งานสารสนเทศ คณะศิลปศาสตร์ ฉัตรชัย จันทร์พริ้ม วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ทิพาพร พัฒนศิริ ศูนย์คอมพิวเตอร์ ม.อ.หาดใหญ่ หฤทัย สมบูรณ์รุ่งโรจน์ ศูนย์คอมพิวเตอร์ ม.อ.หาดใหญ่ ณัฏฐิกา หัตถกรรม

Read More »

ตั้งค่าการเผยแพร่บทความให้อ่านได้เฉพาะสมาชิกที่ login

ใน wordpress เราสามารถตั้งค่าการเผยแพร่บทความให้อ่านได้เฉพาะสมาชิกที่ login ทำได้โดยการติดตั้ง plugin เพิ่ม ผมได้ติดตั้ง plugin ชื่อ member access (member-access.1.1.6.zip) เพิ่มตามคำแนะนำของทีมงาน (ใหญ่และน้อง ศูนย์คอมฯ ขอบคุณครับ) วิธีใช้งานคือ เมื่อท่านเขียนบทความเสร็จ ตัดสินใจแล้วว่าจะเผยแพร่แบบให้สมาชิกที่ login เข้าสู่ระบบแล้วจะดูได้เท่านั้น (เพราะจำเป็นจริงๆ อาจมีความลับบางอย่างไม่อยากให้พี่ google ไปบอกต่อ) ให้ท่านดูที่ด้านขวามือ จะเห็นเป็น Status: Published Edit Visibility: Public Edit ซึ่งถูกต้องแล้ว จากนั้นให้เลือกตัวเลือกของ Member Access ด้านล่าง ตั้งค่าตัวเลือก Ignore the default settings and make this post visible only to members ผลลัพธ์จากการตั้งค่าครั้งนี้ ทำให้บทความไม่แสดงในหน้าเว็บไซต์ ถ้าไม่ login เข้าสู่ระบบก็จะไม่เห็นบทความ เมื่อคัดลอก link ส่งไปให้ ผู้ที่ได้รับ link ก็จะถูก redirect มายังหน้า login

Read More »