การกำหนดค่าพื้นฐานความปลอดภัยสำหรับ IIS และ WordPress บน Windows Server

เพื่อให้ Web Server ของเราปลอดภัยจากการถูกโจมตี บทความนี้จะเป็นการแนะนำการกำหนดค่าต่างๆของ web server ที่ให้บริการ ซึ่งทำงานด้วยบน Windows Server และ มีการติดตั้ง IIS, PHP, MySql, ASP.Net และ WordPress

Read More »

Install from scratch – licensing (2)

ใช้ plugin ชื่อว่า WPO365 วิธีการตั้งค่าเพื่อใช้งาน single sign on ของ Microsoft365 ในการล็อคอินเข้าระบบของ WordPress Authentication จากนั้นคลิก Grant admin consent for Prince of Songkla University แล้วคลิก Yes

Read More »

ติดตั้ง CMSimple version 5.3 ใน VM ของ miniONE KVM

เป็น CMS Web Server อย่างง่าย ไม่มี database ติดตั้งลงใน OS ที่เป็น Ubuntu Server 20.04 ที่ได้ติดตั้ง apache2 web server (เปิด port 80) พร้อม php ไว้แล้วด้วยคำสั่ง sudo apt install apache2 php php-xml ขั้นตอน ไปที่เครื่อง Ubuntu Desktop ของเรา เข้าเว็บเบราว์เซอร์ OpenNebula Sunstone และเปิด VM ที่เป็น Ubuntu Server (สมมติว่า VM มี IP 172.16.100.3) เปิดเพจของ CMSimple ดาวน์โหลด CMSimple_5-3.zip ใช้คำสั่ง scp คัดลอกไฟล์ไปไว้ใน VMscp CMSimple_5-3.zip  papa@172.16.100.3เสร็จแล้ว ssh เข้าไปใน VMssh  papa@172.16.100.3 แตกไฟล์ CMSimple_5-3.zip หากยังไม่ได้ติดตั้ง apache2 และ php ให้ใช้คำสั่ง sudo apt install apache2 php และคำสั่ง sudo apt  install  php-xml นำไปไว้ใน /var/www/html/cms/sudo  mv  CMSimple_5-3  /var/www/html/cmssudo  chown  -R  www-data:www-data  /var/www/html/cms ทำ restart apache2sudo su –service apache2 restart ไปที่หน้าเว็บ http://VM_IP/cms/ ศึกษาวิธีตั้ง Password ครั้งแรกได้จากไฟล์ readme.php ทำขั้นตอน setup Password ของ CMSimplesudo su –cd /var/www/html/cms/cp  ./setup/setupControl.php  .chmod 666 setupControl.php ไปที่หน้า login ของเว็บ http://VM_IP/cms/ และใส่ Password  ไปเปลี่ยน Password ที่เมนู Settings > CMS ตั้ง Password และคลิก Save ลอง logout แล้ว login ใหม่ ใส่ Password ที่ตั้งใหม่ ตอนนี้ก็จัดการ Pages ต่าง ๆ ที่ให้มาเป็นตัวอย่าง ศึกษาวิธีทำเพจได้เอง  เมื่อ logout ทุกครั้ง จะมีแจ้งว่า ได้บันทึกเพจไว้ 2 ไฟล์ พร้อมวันที่บันทึกเป็นสำเนา จบ คิดว่า มันง่ายดีในการนำมาใช้ทดสอบ และ ใช้งานได้จริงสำหรับเว็บเพจง่าย ๆ

Read More »

การเชื่อมต่อ OAuth2 ด้วย WordPress

อยาก  Login ด้วย OAuth2 กับ WordPress ต้องทำอย่างไร สำหรับตัวอย่างนี้จะทำการติดตั้งบน WordPress 5.1 ผ่าน Plugin Simple Single Sign On หลังจากติดตั้ง WordPress เสร็จ เข้าหน้า Administrator แล้วทำการกด Install เพื่อเข้าไปยังหน้าติดตั้ง Extension เพิ่มเติม ทำการเพิ่มปลั๊กอินใหม่ดังรูป ทำการค้นหา single sign on และทำการ Install Now จากนั้นทำการกด Activate จากนั้นทำการตั้งค่าโดยข้าม Step 1 ไปตั้งค่า Step 2 เนื่องจากได้มีการตั้งค่า WP OAuth Server ให้รองรับไว้อยู่แล้ว หลังจากนั้นทำการทดสอบ Login โดยกดปุ่ม Single Sign On เพิ่งเท่านี้ก็จะสามารถใช้งานได้ แต่ยังเป็นแบบเลือกได้ว่าจะ Login แบบ Local หรือผ่าน OAuth โดยอาจจะทำเป็นปุ่มในหน้าแรกเพื่อให้กด Login ก็ได้เช่นกัน

Read More »

การเชื่อมต่อ OAuth2 ด้วย Joomla

อยาก  Login ด้วย OAuth2 กับ Joomla ต้องทำอย่างไร              สำหรับตัวอย่างนี้จะทำการติดตั้งบน Joomla 3.9.3 ผ่าน Plugin MiniOrange OAuth Client หลังจากติดตั้ง Joomla เสร็จ เข้าหน้า Administrator แล้วทำการกด Install เพื่อเข้าไปยังหน้าติดตั้ง Extension เพิ่มเติม หลังจากนั้นกด Add Install from Web ค้นหาชื่อ oauth ติดตั้ง miniOrange OAuth Client  หลังจากติดตั้งเสร็จให้ทำการเปิด Plugins เพิ่มเติมดังรูป จากนั้นทำการตั้งค่าโดยสำหรับ miniOrange ต้องสมัครใช้งานก่อน เพราะมีทั้งแบบฟรีและไม่ฟรี แต่เราจะใช้เฉพาะในส่วนของฟรี ในการสมัครต้องใส่ email และตั้งรหัสผ่าน หลังจากติดตั้ง Joomla เสร็จให้ทำการกด Install เพื่อเข้าไปยังหน้าติดตั้ง Extension เพิ่มเติม จากนั้นทำการตั้งค่าเกี่ยวกับ OAuth สามารถกดทดสอบการ Authen ได้ที่ปุ่ม Test Configuration จะปรากฎหน้า Login เพื่อเข้าสู่ระบบ     หลังจาก Login เสร็จจะคืนค่า User Profile ดังรูป           ในการเอาไปใช้งานต่อให้ทำการสร้างปุ่ม ชี้ไปยัง http://localhost/joomla/?morequest=oauthredirect&app_name=other เพื่อเข้าใช้งาน OAuth ลองไปทำต่อดูครับ

Read More »