การเพิ่มเลขลำดับในตาราง MS WORD

การเพิ่มเลขลำดับในตาราง MS WORD1. คลิกที่ cell แรกของตารางที่จะเพิ่มเลขลำดับ 2. กด ปุ่ม Shift ค้าง แล้วเลือก cell สุดท้ายของตารางที่จะเพิ่มเลขลำดับ 3. คลิกเมนู Home (1) => หัวข้อ (2) => เลือกรูปแบที่ต้องการ (3) 4. ได้ผลดังรูป 5. ทดสอบเพิ่มแถวในตาราง 6.ได้ผลดังรูป 7.ทดสอบลบแถวในตราง 8.ได้ผลดังรูป จะพบว่า ทำการเพิ่มหรือลบแถวในตาราง ตัวเลขลำดับที่ในตารางจะยังคงเรียงได้อย่างถูกต้อง

Read More »

เปลี่ยน Q&A รูปแบบหน้าเอกสาร ให้เป็นหน้าเว็บกัน

การทำบันทึก Q&A ในรูปแบบกระดาษให้อยู่ในหน้าเว็บ จากงานที่เราทำอยู่เป็นงานถามตอบการใช้งานระบบ ซึ่งบางระบบจะผู้ใช้งานจะเป็นคนใหม่เสมอ ๆ เช่น ระบบรับสมัครนักศึกษา (Admission) ระบบข้อมูลพื้นฐานนักศึกษา เป็นต้น โดยได้รวบรวมคำถามที่พบบ่อย และจัดทำในรูปแบบเอกสาร word ธรรมดา ในวันนี้เราจะมาทำให้อยู่ในรูปแบบหน้า web เพื่อให้ง่ายต่อการอ่านของผู้ใช้กันค่ะ มาดูขั้นตอนกันเลย ลองนำไปเล่นกันดูนะ ^_^

Read More »

การติดตั้ง SSL บน apache2

สำหรับ APACHE21. สร้าง DH parameters#sudo openssl dhparam -out /etc/ssl/certs/dhparam.pem 4096 2. เปิดใช้ module headers ของ apache2#sudo a2enmod headers 3. แก้ไขแฟ้ม  /etc/apache2/mods-available/ssl.conf ดังนี้SSLProtocol -ALL +TLSv1.2 +TLSv1.3//บาง OS เช่น CENTOS ใช้ SSLProtocol ALL -TLSv1 -TLSv1.1 -SSLv3 -SSLv2SSLOpenSSLConfCmd DHParameters “/etc/ssl/certs/dhparam.pem”SSLHonorCipherOrder onSSLCompression offSSLSessionTickets offSSLOptions +StrictRequire //เปลี่ยนตามที่ตัวเองใช้SSLCertificateKeyFile /etc/apache2/certificate/STAR_oas.psu.ac.th.keySSLCertificateChainFile /etc/apache2/certificate/STAR_oas.psu.ac.th.ca-bundleSSLCertificateFile /etc/apache2/certificate/STAR_oas.psu.ac.th.crt SSLOpenSSLConfCmd ECDHParameters brainpoolP512r1SSLOpenSSLConfCmd Curves brainpoolP512r1:sect571r1:secp521r1:secp384r1SSLCipherSuite TLSv1.3 TLS_CHACHA20_POLY1305_SHA256:TLS_AES_256_GCM_SHA384 SSLCipherSuite ECDHE-ECDSA-AES128-GCM-SHA256:TLS13_AES_128_GCM_SHA256:TLS13_AES_256_GCM_SHA384:TLS13_CHACHA20_POLY1305_SHA256:TLS_ECDHE_RSA_AES_256_GCM_SHA384:TLS_DHE_RSA_AES_256_GCM_SHA384:TLS_ECDHE_RSA_CHACHA20_POLY1305_SHA256:TLS_DHE_RSA_CHACHA20_POLY1305_SHA256:TLS_DHE_RSA_AES_256_CCM_8:TLS_DHE_RSA_AES_256_CCM:TLS_ECDHE_RSA_ARIA_256_GCM_SHA384:TLS_DHE_RSA_ARIA_256_GCM_SHA384:TLS_ECDHE_RSA_AES_128_GCM_SHA256:TLS_DHE_RSA_AES_128_GCM_SHA256:TLS_DHE_RSA_AES_128_CCM_8:TLS_DHE_RSA_AES_128_CCM:TLS_ECDHE_RSA_ARIA_128_GCM_SHA256:TLS_DHE_RSA_ARIA_128_GCM_SHA256:TLS_CHACHA20_POLY1305_SHA256:ECDHE-RSA-CHACHA20-POLY1305:ECDHE-ECDSA-CHACHA20-POLY1305:DHE-RSA-CHACHA20-POLY1305:PSK-CHACHA20-POLY1305:ECDHE-PSK-CHACHA20-POLY1305:DHE-PSK-CHACHA20-POLY1305:RSA-PSK-CHACHA20-POLY1305:DHE-RSA-AES256-GCM-SHA384:DH-RSA-AES256-GCM-SHA384:DHE-DSS-AES256-GCM-SHA384:DH-DSS-AES256-GCM-SHA384:ADH-AES256-GCM-SHA384:TLS_AES_256_GCM_SHA384:ECDHE-ECDSA-AES256-GCM-SHA384:ECDH-ECDSA-AES256-GCM-SHA384:ECDHE-RSA-AES256-GCM-SHA384:ECDH-RSA-AES256-GCM-SHA384:DHE-RSA-AES256-CCM8:DHE-RSA-AES256-CCM:PSK-AES256-CCM:DHE-PSK-AES256-CCM:PSK-AES256-CCM8:DHE-PSK-AES256-CCM8:ECDHE-ECDSA-AES256-CCM:ECDHE-ECDSA-AES256-CCM8: ############## – OCSP Stapling, only in httpd 2.3.3 and laterSSLUseStapling onSSLStaplingResponderTimeout 5SSLStaplingReturnResponderErrors offSSLStaplingCache “shmcb:logs/ssl_stapling(32768)”## – HTTP Strict Transport Security Header.Header always set Strict-Transport-Security “max-age=31536000; includeSubDomainsi; preload” สำหรับคนที่ใช้ letsencrypt.org ตอนสร้าง cert ให้เพิ่มคำสั่งนี้ครับ –rsa-key-size 4096#sudo certbot certonly –rsa-key-size 4096 –manual –preferred-challenges dns เสร็จไปทดสอบที่https://www.ssllabs.com/ssltest/ ปล.1 ถ้าใช้ Certificate ที่สำนักนวัตกรรมดิจิทัลและระบบอัจฉริยะ จัดชื้อมา จะได้ RSA key ขนาด 2048 bit ทำให้คะแนน Key Exchange ได้ 90 คะแนน ปล.2 ส่วนของ IIS ค่อยทำครับ เพราะต้องใช้ Windows 2022 ขึ้นไปครับ จึงจะ support TLSv1.3ที่ผมมีเพียง Windows 2019 จึงได้ คะแนน ส่วนของ Cipher Strength ได้แค่ 90 ปล.3 ถ้าท่านตามนี้จะทำให้ browser version เก่าเข้าใช้งาน web ท่านไม่ได้เพราะได้ตัด Cipher ที่เป็นจุดอ่อนของระบบออกไป ซึ่ง browser เหล่านนั้นล่วนแต่ใช้ Cipher ที่ถุกตัดออก ปล.4 สำหรับ Windows ใช้คำสั่งนี้สร้าง cert สำหรับ IIS ครับ #sudo openssl pkcs12 -export -out oas.psu.ac.th.pfx -inkey oas.psu.ac.th.key -certfile intermediate_oas.psu.ac.th_ca.crt -in oas.psu.ac.th.crt ปล.5 เพิ่ม SSLCipherSuite ตาม https://www.tenable.com/plugins/nessus/156899 (2560/11/03)

Read More »

การเปลี่ยน IP Bridge ของ Docker

IP ของ Docker โดย Default เป็น Private IP Class B มันจะมีปัญหา Network ที่ใช้ Private IP Class Bในที่นี้เราจะเปลี่ยน Default ของ Docker กัน1. แก้ไขแฟ้ม /etc/docker/daemon.json เพิ่ม{    “default-address-pools”:        [            {“base”:”10.10.0.0/16″,”size”:24}        ]}ถ้ามี ค่าอื่นอยู่ให้ใส่ , หลัง ]{    “dns”: [“172.18.1.2”, “172.18.1.3”],    “default-address-pools”:        [            {“base”:”10.10.0.0/16″,”size”:24}        ]} 2. ตรวจสอบว่า Docker มีการสร้าง Network อะไรบ้าง#sudo docker network ls 3.ลบ network ที่วงกลมสีแดงตามข้อ 2   3.1 ต้องหยุดการทำงานของ container ที่เรียกใช้ก่อน         #sudo docker network inspect taneeoaspsuacth_default         #sudo docker stop tanee_mysql tanee_web   3.2 ลบ network         #sudo docker network rm taneeoaspsuacth_default 4. สร้าง network ใหม่#sudo docker network create –driver bridge taneeoaspsuacth_default <= ชื่อไม่จำเป็นต้องเหมือนเดิม 5. เชื่อม network และ container#sudo docker network connect taneeoaspsuacth_default tanee_web#sudo docker network connect taneeoaspsuacth_default tanee_web 6. เริ่มการทำงานของ container #sudo docker start tanee_mysql tanee_web 7. ตรวจสอบ netwrok#sudo docker network inspect taneeoaspsuacth_defaultจะพบว่า ip ของ container  ได้เปลี่ยนไปแล้ว 8. ลบ Bridge Network เดิม#ifconfig#sudo ip link set br-0f333b026e6f down#sudo ip link set br-b698ee3e22e0 down#sudo brctl delbr br-0f333b026e6f#sudo brctl delbr br-b698ee3e22e0

Read More »

Rename นามสกุลไฟล์ หลายๆไฟล์พร้อมกัน ด้วย command line

สวัสดีท่านผู้อ่านทุกท่าน เราเจอกันอีกแล้ววว 🙂 Blog วันนี้ผู้เขียน ขอว่าด้วยเรื่องของการเปลี่ยนนามสกุลไฟล์ ครั้งละหลายๆไฟล์ พร้อมกัน ด้วยคำสั่ง command line อันที่จริงวันนี้ทางผู้เขียนเจอปัญหาการแสดงผลรูปภาพในหน้าเว็บไซต์ที่ทางทีมเป็นผู้ดูแล ซึ่งไม่รองรับไฟล์นามสกุล .jpeg ซะงั้น แต่ไฟล์รูปต้นฉบับ 2800 กว่าไฟล์นี่มัน .jpeg หมดเลยนี่สิ …. ครั้นจะมานั่งเปลี่ยนที่ละไฟล์ก็ดูจะเหน็ดเหนื่อยจนเกินไป !!! เลยต้องมีการศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม และนำมาทดลองใช้แก้ปัญหาในครั้งดู มาค่ะ มาเริ่มกันเลย Step 1 : ให้ทุกท่าน ไปที่ start ของ window ของเรา และค้นหาคำว่า cmd เพื่อเรียก command line ขึ้นมา Step 2 : เราจะได้หน้าจอ command line ของเราขึ้นมา อย่างแรกเลยคือเราต้องเขียนคำสั่งเข้าไปยัง folder ที่เก็บไฟล์ที่เราต้องการ rename ก่อน จากตัวอย่างผู้เขียนจะเก็บไว้ที่ folder ชื่อ name2 ซึ่งอยู่บน desktop ตัวอย่างคำสั่งก็ประมาณนี้ cd c:/users/administrator/desktop/name2 จากนั้นคลิก enter เล้ย ปล…สำหรับคำสั่ง command line นี่มีมากมายเลยนะ อันนี้แค่เบื้องต้นเท่านั้นแหละ พวก cd, cd.. , del, rename ฯลฯ Step 3 : จากรูปด้านบนสังเกตุได้ว่า เราก็จะเข้าไปอยู่ใน folder name2 เรียบร้อยแล้ว ต่อไปก็มาเขียนคำสั่งเพื่อเปลี่ยนนามสกุลกันเล้ยยยย คำสั่งคือ rename *.jpeg *.jpg จากนั้นกด Enter เพื่อ run คำสั่งได้เลยทุกคน ปล…rename คือคำสั่ง เปลี่ยนชื่อหรือนามสกุลของไฟล์ ส่วน * คืออะไรก็ตาม ตามรูปแบบคำสั่ง โดยรวมคือเราจะเปลี่ยนทุกไฟล์ใน folder name2 ที่นามสกุล .jpeg ให้เป็นนามสกุล .jpg จากตัวอย่างในวิดีโอ หลังจากเรา Run คำสั่งเรียบร้อยแล้ว นามสกุลไฟล์ใน name2 ของเราก็จะเปลี่ยนให้อัตโนมัติเน้อ ผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่า Blog นี้จะมีประโยชน์กับผู้อ่านทุกๆท่าน ไม่มากก็น้อย หลายๆท่านอาจรู้อยู่แล้ว แต่หลายๆท่านก็อาจจะไม่เคยรู้มาก่อน ดังนั้นลองอ่านลองทำตามกันดูนะคะ ง่ายมาก สะดวกและประหยัดเวลามากๆเลย ขอบคุณแหล่งข้อมูลอ้างอิงความรู้ดีๆจาก : https://www.techhub.in.th/

Read More »