รู้หรือไม่ : บริการโทรศัพท์ภายในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

เกี่ยวกับ บริการโทรศัพท์ภายในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เผื่อท่านใดไม่ทราบ (เป็นการสรุปจาก “คู่มือการใช้งานโทรศัพท์พื้นฐาน”  http://telecom.cc.psu.ac.th/telephone/fn.pdf ) — ที่สรุปไว้นี่เพื่อให้ง่ายต่อการใช้งานอย่างรวดเร็วมากยิ่งขึ้นเท่านั้น และเป็นเฉพาะที่ใช้บ่อยทำนั้น — ติดต่อ Operator : กด 9 โทรซ้ำเบอร์ที่เพิ่มโทรไป : กด *70 รับสายแทนอีกเครื่องนึงที่ดัง : กด *72 ตามด้วยหมายเลขที่ดัง ฝากสายให้อีกเบอร์รับ ทันที : กด *60 ตามด้วยหมายเลขที่จะช่วยรับสายแทน ฝากสายให้อีกเบอร์รับ กรณีสายไม่ว่าง : กด *61 ตามด้วยหมายเลขที่จะช่วยรับสายแทน ฝากสายให้อีกเบอร์รับ กรณีไม่มีคนรับสาย : กด *62 ตามด้วยหมายเลขที่จะช่วยรับสายแทน ฝากสายให้อีกเบอร์รับ กรณีทั้ง สายไม่ว่าง และ ไม่มีคนรับสาย : กด *63 ตามด้วยหมายเลขที่จะช่วยรับสายแทน ยกเลิกการฝากสาย: กด *64 โทรกลับเบอร์ที่โทรเข้ามาล่าสุด: กด *68

Read More »

Facebook Spam ที่หลอกมาเป็น “ข่าวสด”

วันนี้พบเพื่อนคนนึง มีโพสต์ประหลาดๆขึ้นบน Profile ดังภาพ แต่พอลองเอา Mouse Over ดูพบว่า Link ไป khaosod.me/XXXXXX ลองมั่วตามไปดู พบว่าไปเปิด Web หนึ่ง เลียบแบบ kapook.com คาดว่า เกิดจาก ก่อนหน้านี้ไปคลิก Facebook App บางอย่าง ทำให้เกิดการ ให้สิทธิ์ App เขียน Wall ได้ วิธีแก้เคยเขียนไว้แล้วใน วิธีจัดการ Facebook Spam

Read More »

ELK #04

คราวนี้มาติดตั้งบน Docker บ้าง ถ้าเครื่อง Server เป็น Ubuntu 16.04 ทำตามขั้นตอนนี้เพื่อให้สามารถใช้งาน Docker ได้ วิธีการติดตั้ง Docker บน Ubuntu 16.04 เนื่องจาก Elasticsearch 5.x ใช้ Virtual Memory มากขึ้น ลองใช้คำสั่งนี้ดูค่าปัจจุบัน sysctl vm.max_map_count ค่า Default น่าจะประมาณนี้ vm.max_map_count = 65530 ให้ทำการเพิ่มด้วยคำสั่งนี้ sudo -i sudo echo “vm.max_map_count=262144” >> /etc/sysctl.conf exit จากนั้นให้ทำการ Reboot ติดตั้ง docker image ของ sebp/elk ด้วยคำสั่ง sudo docker pull sebp/elk โดย Default จะได้ Lastest Version ใช้คำสี่งต่อไปนี้ เพื่อ Start ELK ขึ้นมา โดยเปิด port ให้ Kibana: 5601, Elasticsearch: 9200, Logstash: 5044 และทำงานเป็นแบบ Detach หรือ Background นั่นเอง sudo docker run -d -p 5601:5601 -p 9200:9200 -p 5044:5044 -it –name elk sebp/elk หรือถ้าจะใช้ Docker Compose ก็สามารถใช้งานด้วยวิธีการนี้ เริ่มจาก ติดตั้ง Docker Compose ด้วยคำสั่ง sudo -i curl -L https://github.com/docker/compose/releases/download/1.14.0/docker-compose-`uname -s`-`uname -m` > /usr/local/bin/docker-compose chmod +x /usr/local/bin/docker-compose exit จากนั้น สร้างไฟล์ /path/to/your/config/elk.yml เนื้อหาดังนี้ elk: image: sebp/elk ports: – “5601:5601” – “9200:9200” – “5044:5044” จากนั้นก็ Start sudo /usr/local/bin/docker-compose -f /path/to/your/config/elk.yml up -d elk หากต้องการให้ container ทำการ start ทุกครั้งที่ Reboot ใช้คำสั่ง sudo crontab -e แล้วใส่บรรทัดนี้ต่อท้ายไฟล์ @reboot /usr/local/bin/docker-compose -f /home/mama/elk.yml up -d elk ทดสอบว่า Container ที่กำลังทำงานอยู่มีอะไรบ้าง sudo docker ps วิธีดูว่า มี Container อะไรบ้าง (ทั้งที่ทำงานและไม่ทำงาน) sudo docker ps -a วิธีดูว่าเกิดอะไรขึ้นกับ Container (ในที่นี้ ชื่อ elk) sudo docker logs elk ถึงจุดนี้ ก็สามารถใช้งาน Kibana ทาง web url: http://your.host:5601 ได้แล้ว   Reference: https://elk-docker.readthedocs.io/  

Read More »

ELK #03

วิธีการติดตั้ง Kibana บน Ubuntu 16.04 ก่อนอื่น Update sudo apt -y update ; sudo apt -y upgrade ติดตั้ง Java JDK sudo apt -y install default-jdk Download และติดตั้ง wget https://artifacts.elastic.co/downloads/kibana/kibana-5.4.2-amd64.deb sudo dpkg -i kibana-5.4.2-amd64.deb จากนั้นแก้ไขไฟล์ /etc/kibana/kibana.yml เพิ่มบรรทัดสุดท้าย server.host: “192.168.xxx.yyy” elasticsearch.url: “http://your.elastic.host:9200” จากนั้น Start Service sudo service kibana start เปิด Web Browser ไปที่ http://192.168.xxx.yyy:5601

Read More »

ELK #02

ขั้นตอนการติดตั้ง Logstash บน Ubuntu 16.04 ก่อนอื่น Update sudo apt -y update ; sudo apt -y upgrade ติดตั้ง Java JDK sudo apt -y install default-jdk Download และติดตั้ง wget https://artifacts.elastic.co/downloads/logstash/logstash-5.4.2.deb sudo dpkg -i logstash-5.4.2.deb Start Logstash Service sudo service logstash start ต่อไป สร้าง Configuration ไว้ใน /etc/logstash/conf.d/ เช่น จะสร้าง Pipeline ที่อ่านจาก File /tmp/test.log แล้ว ส่งไปที่ Elasticsearch โดยตรง ให้สร้างไฟล์ /etc/logstash/conf.d/file.conf ดังนี้ input { file { path => “/tmp/test.log” type=> “test” } } output { file { path => “/tmp/output.txt” } } เมื่อลองใช้คำสั่ง echo “$(date): New World” >> /tmp/test.log ก็จะปรากฏไฟล์ /tmp/output.txt ขึ้น ต่อไป ลองเปลี่ยน Output เป็น Elasticsearch โดยการสร้างไฟล์ /etc/logstash/conf.d/es.conf input { file { path => “/tmp/test.log” type=> “test” } } output { elasticsearch { hosts => [“http://your.elastic.host:9200”] } } เมื่อลองใช้คำสั่ง echo “$(date): New World” >> /tmp/test.log ก็จะปรากฏบรรทัดใหม่ใน /tmp/output.txt และ มีการเขียนไปบน Elasticsearch ด้วย ลองเปิด Web Browser แล้วใช้คำสั่งต่อไปนี้ http://your.elastic.host:9200/_cat/indices?v ก็จะได้ผลลัพธ์ประมาณนี้ จากนั้น วิธีที่จะแสดงผลที่เก็บไว้ใน Elasticsearch ให้เปิด URL นี้ http://your.elastic.host:9200/logstash-2017.06.24/_search?q=* ก็จะได้ผลลัพธ์ประมาณนี้ แล้วยังไง ??? รอดูตอนต่อไป

Read More »