วิธีทำ Screen Mirror จาก Android ขึ้นมาแสดงบน PC (Ubuntu)

เนื่องจากเครื่อง Notebook ที่ใช้ ลง Ubuntu 17.04 Desktop จึงนำเสนอวิธีนี้ก่อน ใน Android ต้องเปิด Developer Options เปิด USB Debuging เสียบ Android กับ USB ที่เครื่อง Ubuntu Desktop ติดตั้งดังนี้ sudo apt install adb android-tools-adb ffmpeg ใช้คำสั่งต่อไปนี้ เพื่อดูว่า มี Android มาต่อทาง USB หรือไม่ lsusb ผลที่ได้ ต่อไป ใช้คำสั่งต่อไปนี้ เพื่อดูว่า ADB เห็น Android หรือไม่ adb shell screenrecord –output-format=h264 – | ffplay ผลที่ได้คือ หน้าจอ Android จะปรากฏบน PC (Ubuntu) Reference: https://askubuntu.com/questions/213874/how-to-configure-adb-access-for-android-devices

Read More »

Ambari #02 ติดตั้ง Ambari Agent

ต่อจาก Ambari #01: ติดตั้ง Ambari Server ในบทความนี้ จะขอนำเสนอการติดตั้ง Ambari version 2.5.1 จาก HortonWorks ซึ่งจะทำงานกับ Hortonworks Data Platform (HDP)  2.6 โดยติดตั้งบน Ubuntu 16.04 ในส่วนของ “Ambari Agent” [2] ติดตั้ง Ubuntu 16.04 Server 64bit สิ่งที่สำคัญมากคือ FQDN หรือการอ้างชื่อเต็มของ host ดังนั้น ในไฟล์ /etc/hosts บรรทัดแรกต้องเป็น Fully Qualified Domain Name เช่น (ห้ามเป็น localhost เด็ดขาด) และถ้าจะให้ดี ควรมี DNS Record บน Name Server ด้วย 127.0.0.1   ambari02.example.com ambari02 192.168.1.122   ambari02.example.com ambari02 ต้องทดสอบใช้คำสั่ง hostname -f แล้วได้ชื่อ FQDN ถึงจะใช้งานได้ ตั้งค่า Ambari Public Repository sudo su wget -O /etc/apt/sources.list.d/ambari.list http://public-repo-1.hortonworks.com/ambari/ubuntu16/2.x/updates/2.5.1.0/ambari.list apt-key adv –recv-keys –keyserver keyserver.ubuntu.com B9733A7A07513CAD apt-get update -y sudo dpkg –configure -a echo never > /sys/kernel/mm/transparent_hugepage/enabled apt-cache showpkg ambari-server ติดตั้ง Ambari Agent apt-get install -y ambari-agent แก้ไขไฟล์ /etc/ambari-agent/conf/ambari-agent.ini ให้ระบบ hostname ไปยัง ambari server ในที่นี้คือ ambari01.example.com hostname=ambari01.example.com … run_as_user=ambari เนื่องจากเป็นการติดตั้งแบบ non-root จึงต้องทำการแก้ไข visudo ด้วย โดยเพิ่มบรรทัดต่อไปนี้เข้าไป # Ambari Customizable Users ambari ALL=(ALL) NOPASSWD:SETENV: /bin/su hdfs *,/bin/su ambari-qa *,/bin/su ranger *,/bin/su zookeeper *,/bin/su knox *,/bin/su falcon *,/bin/su ams *, /bin/su flume *,/bin/su hbase *,/bin/su spark *,/bin/su accumulo *,/bin/su hive *,/bin/su hcat *,/bin/su kafka *,/bin/su mapred *,/bin/su oozie *,/bin/su sqoop *,/bin/su storm *,/bin/su tez *,/bin/su atlas *,/bin/su yarn *,/bin/su kms *,/bin/su activity_analyzer *,/bin/su livy *,/bin/su zeppelin *,/bin/su infra-solr *,/bin/su logsearch * Start Ambari Agent ambari-agent start

Read More »

Ambari #01: ติดตั้ง Ambari Server

Apache Ambari เป็นเครื่องมือที่ทำให้การจัดการ Hadoop ง่ายขึ้น [1] แต่การติดตั้ง Apache Ambari เองนั้น (จาก Apache Project) ก็มีความยุ่งยากเล็กน้อย เพราะต้อง Build Source เอง จึงมีบริษัท HortonWorks เค้าไปทำตัว Binary มาให้ download และติดตั้งได้ง่ายกว่า Ambari ประกอบด้วย Ambari Server และ Ambari Agent ซึ่ง Server จะเป็นตัวสั่งการให้ติดตั้ง Hadoop Component ต่างๆลงไปบน Agent ในบทความนี้ จะขอนำเสนอการติดตั้ง Ambari version 2.5.1 จาก HortonWorks ซึ่งจะทำงานกับ Hortonworks Data Platform (HDP)  2.6 โดยติดตั้งบน Ubuntu 16.04 ในส่วนของ “Ambari Server” [2] ติดตั้ง Ubuntu 16.04 Server 64bit สิ่งที่สำคัญมากคือ FQDN หรือการอ้างชื่อเต็มของ host ดังนั้น ในไฟล์ /etc/hosts บรรทัดแรกต้องเป็น Fully Qualified Domain Name เช่น (ห้ามเป็น localhost เด็ดขาด) และถ้าจะให้ดี ควรมี DNS Record บน Name Server ด้วย 192.168.1.121   ambari01.example.com ambari01 ต้องทดสอบใช้คำสั่ง hostname -f แล้วได้ชื่อ FQDN ถึงจะใช้งานได้ UPDATE: ในการระบบทดสอบ ซึ่งประกอบด้วยเครื่องไม่เกิน 5 เครื่อง อาจจะใช้ /etc/hosts บันทึก IP Address และ FQDN ของทุกเครื่องใน Cluster และต้องสร้าง /etc/hosts ให้เหมือนกันทุกเครื่องด้วยเช่นกัน แต่หากต้องทำระบบขนาดใหญ่ แนะนำให้ใช้ DNS ซึ่งต้องทำ Reverse DNS ด้วย กล่าวคือ ต้อง nslookup 192.168.1.2 แล้วกลับมาเป็น ambari01.example.com ได้ แต่หากไม่สามารถจัดการ DNS หลักขององค์กรได้ ก็พอจะใช้งาน dnsmasq ช่วยได้ โดยวิธีการติดตั้งและใช้งานมีดังนี้ apt install dnsmasq แก้ไขไฟล์ /etc/dnsmasq.conf เพิ่มบรรทัดต่อไปนี้ interface=eth0 address=/ambari01.example.com/192.168.1.121 ptr-record=121.1.168.192.in-addr.arpa,ambari01.example.com address=/ambari02.example.com/192.168.1.122 ptr-record=122.1.168.192.in-addr.arpa,ambari02.example.com …. address=/ambari99.example.com/192.168.1.219 ptr-record=219.1.168.192.in-addr.arpa,ambari99.example.com จากนั้น ให้แก้ไขไฟล์ /etc/network/interfaces ของทุกเครื่อง ให้ชี้มาที่ IP ของ Ambari Server ในที่นี้คือ 192.168.1.121 ก็จะใช้งานได้อย่างราบรื่น ตั้งค่า Ambari Public Repository sudo su wget -O /etc/apt/sources.list.d/ambari.list http://public-repo-1.hortonworks.com/ambari/ubuntu16/2.x/updates/2.5.1.0/ambari.list apt-key adv –recv-keys –keyserver keyserver.ubuntu.com B9733A7A07513CAD apt-get update -y sudo dpkg –configure -a echo never > /sys/kernel/mm/transparent_hugepage/enabled apt install -y ntp apt-cache showpkg ambari-server ติดตั้ง Ambari Server apt-get install

Read More »

วิธีสร้าง Docker Swarm

หลายคนคงจะได้ใช้งาน Docker มาแล้ว แต่อาจจะลองใช้งานบน 1 Physical Server กล่าวคือ สร้างหลายๆ container อยู่บนเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องเดียว >> ติดตั้ง docker 17.06.0 CE บน Ubuntu Docker Swarm เป็นเครื่องมือที่ติดมากับ Docker รุ่นตั้งแต่ 1.12 เป็นต้นมา (ปัจจุบัน ชื่อรุ่นคือ 17.06.0 CE) ก่อนอื่น มาตรวจสอบว่า เรากำลังใช้ Docker รุ่นไหนด้วยคำสั่ง docker version Docker Swarm ประกอบไปด้วย Master Node และ Worker Node โดยใน 1 Swarm สามารถมีได้ หลาย Master และ หลาย Worker ในตัวอย่างนี้ จะแสดงการเชื่อมต่อ Ubuntu 16.04 ทั้งหมด 4 เครื่อง เข้าไปใน 1 Swarm (ทุกเครื่องสามารถเชื่อมต่อถึงกันได้ และต่อ Internet ได้ และติดตั้ง Docker ไว้เรียบร้อยแล้ว) [Master Node] ใช้คำสั่งต่อไปนี้ เพื่อสร้าง Swarm Master Node บนเครื่องนี้ docker swarm init จะได้ผลดังภาพ ให้ Copy คำสั่ง ตั้งแต่ “docker swarm join –token …..” เป็นต้นไป เพื่อเอาไปสั่งให้ Work Node เข้ามา Join ใน Swarm [Worker Node] นำคำสั่งจาก Master Node ข้างต้น มาใช้ จากนั้น ทำเช่นเดียวกันนี้ กับ Worker Node ที่เหลือ (และหากในอนาคตต้องการเพิ่ม Worker Node อีก ก็เอาคำสั่งนี้ไปใช้) ตัวอย่างการนำไปใช้ (หากสนใจ ลอง git clone https://github.com/nagarindkx/elk ไปดูได้) สร้าง “Stack File” ซึ่งจะคล้ายๆกับการสร้าง Compose File แต่มีรายละเอียดต่างกันเล็กน้อย ใช้คำสั่ง ต่อไปนี้ เพื่อสร้าง Stack ของ Software ให้กระจายไปใน Worker Nodes docker stack deploy -c $(pwd)/elk.yml k1 ผลที่ได้ วิธีดูว่า ตอนนี้มี Stack อะไรอยู่บ้าง ใช้คำสั่ง docker stack ls ผลที่ได้ วิธีดูว่า ตอนนี้มีการไปสร้าง Container ไว้ที่ใดใน Docker Swarm บ้าง ด้วยคำสั่ง (สั่งการได้บน Master Node เท่านั้น) docker service ps k1 ผลที่ได้ ต่อไป อยากจะเพิ่ม Scale ให้บาง Service ใน Stack ใช้คำสั่ง docker service scale k1_elasticsearch=4 ผลที่ได้   ในตัวอย่างนี้ จะสามารถใช้งาน Kibana ซึ่งจากภาพจะเห็นได้ว่า อยู่ที่ Node “docker04” แต่เราสามารถเรียกใช้งานได้ที่ Master Node “docker01” ได้เลย เช่น

Read More »

ติดตั้ง docker 17.06.0 CE บน Ubuntu

ล่าสุด วิธีการติดตั้ง Docker รุ่น 17.06.0 CE ซึ่งรองรับ docker-compose version 3.3 ให้ติดตั้งด้วยวิธีนี้ sudo add-apt-repository “deb [arch=amd64] https://download.docker.com/linux/ubuntu $(lsb_release -cs) stable” sudo apt update sudo apt-get install apt-transport-https ca-certificates curl software-properties-common curl -fsSL https://download.docker.com/linux/ubuntu/gpg | sudo apt-key add – sudo apt-get update sudo apt-get install docker-ce

Read More »