สร้าง DLNA Media Server ผ่าน Ubuntu ด้วยโปรแกรม MiniDLNA

อุปกรณ์ที่บ้านรองรับ DLNA (มือถือ, PC, Notebook, TV ฯลฯ) มี Notebook เก่า ๆ อยู่เครื่องไม่รู้เอามาทำอะไรดี จะทำ Stream Media Server ใช้ง่าย ๆ ได้ยังไง อยากรู้ DLNA คืออะไรเชิญอ่านได้ที่นี่ครับ http://www.deviceacademy.com/forum/th/node/858 เกี่ยวกับ Project MiniDLNA http://sourceforge.net/projects/minidlna/ https://help.ubuntu.com/community/MiniDLNA ขั้นตอนการติดตั้ง DLNA Media Server ผ่าน Ubuntu ด้วยโปรแกรม MiniDLNA 1. วิธีการขั้นแรกก็ติดตั้ง Ubuntu 14.04 LTS จะ Desktop หรือ Server แล้วแต่ศรัทธา 2. ติดตั้ง MiniDLNA sudo apt-get install minidlna 3. สร้าง Folder สำหรับทำ Media Server ดังนี้ mkdir /home/[user]/music mkdir /home/[user]/picture mkdir /home/[user]/video sudo mkdir /var/cache/minidlna 4. แก้ไขไฟล์ดังนี้ sudo vim /etc/minidlna.conf 4.1) ตั้งค่าในส่วนของ folder ที่จะให้ DLNA Server ให้บริการโดยแบ่งเป็น 3 แบบ คือ A = Audio, V= Video, P = Picture # If you want to restrict a media_dir to a specific content type, you can # prepend the directory name with a letter representing the type (A, P or V), # followed by a comma, as so: # * “A” for audio (eg. media_dir=A,/var/lib/minidlna/music) # * “P” for pictures (eg. media_dir=P,/var/lib/minidlna/pictures) # * “V” for video (eg. media_dir=V,/var/lib/minidlna/videos) #media_dir=/var/lib/minidlna media_dir=A,/home/[user]/music media_dir=P,/home/[user]/picture media_dir=V,/home/[user]/video 4.2) ตั้งในส่วนของ network_interface โดยอุปกรณ์ที่จะใช้งานได้ต้องอยู่วงเดียวกับ DLNA Server # Network interface(s) to bind to (e.g. eth0), comma delimited. # This option can be specified more than once. network_interface=eth0 4.3) ตั้งค่าชื่อที่จะปรากฎที่อุปกรณ์เมื่อจะเข้าใช้งาน DLNA Server # Name that the DLNA server presents to clients. # Defaults to “hostname: username”. friendly_name=DLNA Media Server 4.4) ทำการตั้งค่า Folder ที่ไว้เก็บ

Read More »

เรียนรู้วิธีการใช้งาน Cacti เพื่อ Monitor Server

ท่านสามารถอ่านวิธีติดตั้ง Cacti ได้ที่นี่ http://sysadmin.psu.ac.th/2014/07/24/cacti-setup/ วิธีการติดตั้ง SNMP Query MIB เพิ่มเติม รวมถึง MIB ของโปรแกรม SNMP Informant ซึ่งใช้ติดตั้งเป็น Agent ของ Windows Server โดยมีขั้นตอนดังนี้ วิธีการเพิ่มเติม snmp query template สำหรับ cacti 1) ทำการ move resource เป็น resource_old sudo mv /usr/share/cacti/resource /usr/share/cacti/resource_old 2) ทำการสร้าง folder resource ขึ้นมาใหม่และทำการโหลดไฟล์ resource ใหม่จาก web มาวาง cd /usr/share/cacti sudo mkdir resource cd resource sudo wget http://ftp.psu.ac.th/pub/psu-monitor/resource.tar.gz sudo tar -xvzf resource.tar.gz 3) ทำการเพิ่ม Template ลบไปฐานข้อมูลโหลด Download xml ทำการติดตั้งดังนี้ cd /home/workshop/Desktop/ wget http://ftp.psu.ac.th/pub/psu-monitor/template.zip unzip template.zip ทำการ Import ไฟล์ xml ทั้งหมด – ตัวอย่างวิธีการ Import Template 4) ทำการตั้งค่า Linux Host Template ใหม่ดังนี้ ทำการ Add Associated Graph Templates และ Data Queries ดังนี้ (หลังจากกด save มันจะไม่ดีดไปไหน แต่ save แล้วครับ) 5) ทำการตั้งสร้าง Windows Host Template ใหม่ดังนี้ ทำการ Add Associated Graph Templates และ Data Queries ดังนี้ สำหรับเครื่องที่เป็น Linux เปิดเฉพาะ snmp ก็เพียงพอ แต่เครื่องที่เป็น Windows ต้องลงโปรแกรม informant เพิ่มเติมเพื่อเสมือนเป็น agent ไปดึงค่าจากเครื่องไปสร้าง MIB พิเศษเพื่อให้ Cacti เข้ามาดึงข้อมูล โดยโปรแกรมสามารถ Download ได้ที่นี่ http://www.wtcs.org/informant/files/informant-std-17.zip 6) เพื่อไม่ต้อง ตั้งค่า snmp บ่อย ๆ ให้ทำการแก้ไข snmp default ดังรูป วิธีการเพิ่ม device 1) ทำการ Add Device ดังนี้ 2) ใส่ข้อมูลต่าง ๆ ของ Device 3) หลังจากนั้นให้สังเกตุคำว่า success และมีจำนวน items แสดงว่าเราสามารถดึงค่าได้แล้ว ในกรณีที่ยังไม่ได้ เมื่อให้ทำการทดสอบโดยกดเลือก Verbose Query ทุกครั้ง ถ้ายังไม่ success แนะนำว่าอย่าเพิ่งสร้าง Graph ครับ เพราะเราไม่รู้ว่าเครื่องมีกี่ CPU กี่ interface แรมเท่าไหร่ จึงไม่สามารถสร้าง Graph ล่วงหน้าได้ – เมื่อกดปุ่ม Verbose Query ระบบจะทำการดึงข้อมูลมาให้ดูดังรูป วิธีการสร้าง Graph ประเภท Linux Machine – ทำการ Create Graph ในหน้า device ดังนี้ – ให้เลือกทีละหัวข้อจากนั้นทำการกดปุ่ม Create วิธีการสร้าง

Read More »