• โหมดแทบ จะ next technology
  • เข้าระบบด้วยผู้ใช้ oracle เปิด terminal พิมพ์คำสั่งต่อไปนี้
grid_env
cd $ORACLE_HOME
./gridSetup.sh
  • จะได้ดังรูป
Select Configuration Option
  • เลือก Configure Oracle Grid Infrastructure for New Cluster กด Next
  • จะได้ดังรูป
Select Cluster Configuration
  • เลือก Configure an Oracle Standalone Cluster กด Next
  • จะได้ดังรูป
Grid Plug and Play Information
  • เลือก Create Local SCAN
  • แก้ชื่อให้ตรงกับที่ขอจดกับ DNS (rac-scan) ดังรูป
Grid Plug and Play Information
  • กด Next จะได้ดังรูป
Cluster Node Information
  • ให้กด Add… เพื่อเพิ่ม rac2 ดังรูป
Cluster Nod Information
  • กด Next จะได้ดังรูป
Specify Network Interface Usage
  • ให้เปลี่ยนเป็นตามรูป (ซึ่งตัวอย่างนี้ใช้ iSCSI)
Specify Network Interface Usage
  • กด Next จะได้ดังรูป
Storage Option Information
  • เลือก Configure ASM using block devices กด Next
  • จะได้
Grid Infrastructure Management Repository Option
  • เลือก Yes กด Next
  • ได้ดังรูป
Create ASM Disk Group
  • เปลี่ยน Disk Discovery Path เป็น /dev/oracleasm/disks/* โดยการคลิก Change Discovery Path…
Change Disk Discovery
  • คลิก Specify Failure Groups… กรอกและเลือกดังรูป กด OK
Failure Groups
  • ในส่วนของ Redundancy เลือก Normal
  • ในช่อง Select Disks เลือก Disk 3 ลูก ระบุ Failure Group ต่างกัน Group ตามที่สร้างไว้
Create ASM Disk Group
  • กด Next จะได้ดังรูป
GIMR Data Disk Group
  • เลือก External และ disk 1 ลูก
GIMR Data Disk Group
  • กด Next จะได้
Specify ASM Password
  • เลือก Use same passwords for these accounts แล้ว ตั้ง password
Specify ASM Password
  • กด Next ได้ดังรูป
Failure Isolation Support
  • เลือก Do not use Intelligent Platform Management Interface (IPMI) กด Next ได้ดังรูป
Specify Management Options
  • กด Next แล้วเลือกดังรูป dba, oper, asmoper
Privileged Operating System Groups
  • จะได้ดังรูป
Specify Installation Location
  • กด Next ได้ดังรูป
Oracle Grid Infrastructure 18c Installer
  • เลือก Yes ได้ดังรูป
  • กด Next ได้ดังรูป
Root script execution configuration
  • กด next ได้ดังรูป
Perform Prerequisite Checks
Summary
  • กด Install ได้ดังรูป
  • รอจนกระทั่ง
Execute Configuration Scripts
  • ให้รันคำสั่งต่อไปนี้ ใน terminal เริ่มจาก rac1 แล้วต่อด้วย rac2
sudo /u01/app/oraInventory/orainstRoot.sh
orainstRoot.sh
sudo /u01/app/18.0.0.0/grid/root.sh
  • กด enter 1 ครั้งแล้วรอ ให้สคริปต์ทำงานไปจนกว่าจะเสร็จ โดยสังเกตด้วยต้องไม่มีคำว่า Fail เลย
  • เมื่อครบทั้ง 2 คำสั่งที่ rac1 แล้ว ให้ทำซ้ำที่ rac2 อาจสั่งไปจาก rac1 ก็ได้
ssh rac2
  • เมื่อสั่งคำสั่งครบทั้ง 2 เครื่องแล้วให้กลับมา rac1 แล้วกด OK ได้รูป
Oracle Grid Infrastructure 18c Installer – Step 18 of 19
  • พักดื่มน้ำปัสสาวะได้ เนื่องจากค่อนข้างนาน
  • กลับมากด Close ได้เลย
Finish
  • ต่อไปติดตั้ง database ตอน 5 ใกล้ละๆ
Share the Post:

Related Posts

ทำความรู้จักกับ Outlook บนเว็บ

Post Views: 6 Outlook เป็นเครื่องมือจัดการอีเมลและปฏิทินที่ทรงพลัง ซึ่งช่วยให้คุณมีระเบียบและเพิ่มความสามารถในการทำงาน ด้วยอินเทอร์เฟซที่ใช้งานง่าย คุณสามารถจัดการกล่องขาเข้าของคุณ นัดหมาย และทำงานร่วมกับเพื่อนร่วมงานได้อย่างง่ายดาย ฟีเจอร์ที่แข็งแกร่งของ Outlook รวมถึงแม่แบบอีเมลที่ปรับแต่งได้ ความสามารถในการค้นหาขั้นสูง และการผสานรวมที่ไร้รอยต่อกับแอปพลิเคชัน Microsoft Office อื่นๆ ไม่ว่าคุณจะเป็นมืออาชีพที่ยุ่งอยู่หรือเป็นนักเรียนที่ต้องจัดการกับภารกิจหลายอย่าง Outlook

Read More

[บันทึกกันลืม] JupyterHub Authenticated with OIDC

Post Views: 36 ต่อจากตอนที่แล้ว [บันทึกกันลืม] JupyterHub ด้วย Docker คราวนี้ ถ้าต้องการให้ ยืนยันตัวตนด้วย OpenID เช่น PSU Passport เป็นต้น ก็ให้ทำดังนี้ ในไฟล์ jupyterhub_config.py ใส่

Read More