Day: December 9, 2015

  • Using KMS Manually to Activate Software

    • ต้องแจ้ง IP Address ที่ต้องการ activate ผ่าน KMS Server ของมหาวิทยาลัยที่ support@psu.ac.th
    • สำหรับ Windows ให้สร้าง batch script ชื่อ WindowsKMS.bat ไว้ที่ C:\ (drive ที่ติดตั้ง Windows) มีข้อความดังนี้
      สำหรับ Windows Vista/7/8/8.1/2008/2008R2/10/11/2012/2012R2/2016/2019/2022
      CD %windir%\System32
      cscript slmgr.vbs /skms kms1.psu.ac.th
      cscript slmgr.vbs /ato
    • สำหรับ Microsoft Office/Visio/Project ให้สร้างแฟ้ม OfficeKMS.bat ไว้ที่ C:\ (drive ที่ติดตั้ง Office) มีข้อความดังต่อไปนี้
      rem Office 2021, Office 2019, Office 2016:
      CD \Program Files\Microsoft Office\Office16
      CD \Program Files (x86)\Microsoft Office\Office16
      rem Office 2013:
      CD \Program Files\Microsoft Office\Office15
      CD \Program Files (x86)\Microsoft Office\Office15
      rem Office 2010:
      CD \Program Files\Microsoft Office\Office14
      CD \Program Files (x86)\Microsoft Office\Office14
      cscript ospp.vbs /sethst:kms1.psu.ac.th
      cscript ospp.vbs /act

      ทั้งนี้ต้องติดตั้ง Office ด้วย Next technology เท่านั้นคือไม่มีการแก้ไข path ที่ใช้ติดตั้ง Office มิฉะนั้นต้องชี้ path ที่ถูกต้องของแฟ้ม ospp.vbs เอง
    • เสร็จแล้วในคลิกขวาที่แฟ้ม WindowsKMS.bat และแฟ้ม OfficeKMS.bat แล้วเลือก run as administrator
    • สำหรับห้องปฏิบัติการหรือเครื่องที่นานๆ (เกิน 30 วัน) เปิดใช้สักครั้งอาจจะต้องมีการเพิ่มหมายเลขผลิตภัณฑ์ลงในสคริปต์ด้วย หลังไมค์มานะครับ….
    • windows Server ก็ใช้ script เดียวกันนี้สำหรับการ activate
    • จบ ขอให้สนุกครับ
  • การตั้งค่า IPV6 ให้กับ Apache Web Server สำหรับ Ubuntu Linux

    “อยากตั้งค่า Apache Web Server ให้เปิดใช้ IPv6 ต้องทำอย่างไร”

    • สำหรับวิธีเปิดใช้งาน IPv6 บน Apache จะขอยกตัวอย่างบน Ubuntu ซึ่งจริง ๆ แล้วสามารถตั้งเป็น IPv6 only ก็ได้ แต่ในที่นี่จะตั้งให้สามารถใช้ได้ทั้ง IPv4 และ IPv6
      1. เปิดไฟล์ /etc/apache2/ports.conf
        sudo vim /etc/apache2/ports.conf
      2. ทำการแก้ไขโดยเพิ่มในส่วนของ IPv6 Config ดังนี้ (xxx yyy ไปหามาใส่เอาเองนะครับ เป็นแค่ค่าสมมุติ)
        Listen 192.168.xxx.yyy:80
        Listen [2001:xxxxxx:101]:80
      3. สั่ง Restart Web Service เป็นอันเรียบร้อยครับ
        sudo /etc/init.d/apache2 restart
      4. สามารถตรวจสอบผ่านคำสั่ง netstat ได้ดังนี้ครับ
        netstat -na | grep ":80"
    • การทดสอบในกรณียังไม่ได้จด DNS6 เราไม่สามารถพิมพ์ URL เป็น IPv6 ตรง ๆ บน Browser ได้ ถ้าจดแล้วสามารถทดสอบผ่าน http://ipv6-test.com/validate.php ดูได้ครับ
  • การตั้งค่า IPV6 ให้กับ Nginx Web Server สำหรับ Ubuntu Linux

    “อยากตั้งค่า Nginx Web Server ให้เปิดใช้ IPv6 ต้องทำอย่างไร”

    • สำหรับวิธีเปิดใช้งาน IPv6 บน Nginx จะขอยกตัวอย่างบน Ubuntu ซึ่งจริง ๆ แล้วสามารถตั้งเป็น IPv6 only ก็ได้ แต่ในที่นี่จะตั้งให้สามารถใช้ได้ทั้ง IPv4 และ IPv6
      1. เปิดไฟล์ /etc/nginx/site-available/[site-file]
        sudo vim /etc/nginx/site-available/psu-v6
      2. ทำการแก้ไขโดยเพิ่มในส่วนของ IPv6 Config ดังนี้ (เพิ่มเฉพาะตัวสีแดงนะครับ)
        server {
          listen [::]:80;  
          ...
        }
      3. สั่ง Restart Web Service เป็นอันเรียบร้อยครับ
        sudo /etc/init.d/nginx restart
      4. สามารถตรวจสอบผ่านคำสั่ง netstat ได้ดังนี้ครับ
        netstat -na | grep ":80"
    • การทดสอบในกรณียังไม่ได้จด DNS6 เราไม่สามารถพิมพ์ URL เป็น IPv6 ตรง ๆ บน Browser ได้ ถ้าจดแล้วสามารถทดสอบผ่าน http://ipv6-test.com/validate.php ดูได้ครับ
  • การตั้งค่า IPV6 ให้กับ Lighttpd Web Server สำหรับ CentOS Linux

    “อยากตั้งค่า Lighttpd Web Server ให้เปิดใช้ IPv6 ต้องทำอย่างไร”

    • สำหรับวิธีเปิดใช้งาน IPv6 บน Lighttpd จะขอยกตัวอย่างบน CentOS 6.7 ซึ่งจริง ๆ แล้วสามารถตั้งเป็น IPv6 only ก็ได้ แต่ในที่นี่จะตั้งให้สามารถใช้ได้ทั้ง IPv4 และ IPv6
      1. เปิดไฟล์ /etc/lighttpd/lighttpd.conf
        sudo vim /etc/lighttpd/lighttpd.conf
      2. ทำการแก้ไขโดยเพิ่มในส่วนของ IPv6 Config ดังนี้ (แทนที่ [web-path] ด้วย location จริง ๆ เช่น “/var/www”)
        $SERVER["socket"] == "[::]:80" {
         accesslog.filename = "/var/log/lighttpd/ipv6.access.log"
         server.document-root = [web-path]
        }

        *หมายเหตุ : server.use-ipv6 = “disable” ไม่ต้องแก้ไขนะครับ เพราะ ด้วยชื่อ domain เดียวกันจะไม่สามารถเปิด port 80 สอง port ได้พร้อมกัน ทำได้แค่เพิ่ม SERVER Socket config เข้าไปอย่างที่เห็นข้างบนครับ (จะใช้ก็ตอนที่จะเปิดเฉพาะ IPv6 only ครับ)

      3. สั่ง Restart Web Service เป็นอันเรียบร้อยครับ
        sudo service lighttpd restart
      4. สามารถตรวจสอบผ่านคำสั่ง netstat ได้ดังนี้ครับ
        netstat -na | grep ":80"
    • การทดสอบในกรณียังไม่ได้จด DNS6 เราไม่สามารถพิมพ์ URL เป็น IPv6 ตรง ๆ บน Browser ได้ ถ้าจดแล้วสามารถทดสอบผ่าน http://ipv6-test.com/validate.php ดูได้ครับ
  • การตั้งค่า Interface IPv6 สำหรับเครื่อง CentOS/Redhat Server

    “อยากให้ CentOS/Redhat Server เปิดใช้ IPv6 ต้องทำอย่างไร”

    • สำหรับวิธีเปิดใช้งาน IPv6 บน CentOS/Redhat จะขอยกตัวอย่าง CentOS 6.7 โดยทำการตั้งค่า Interface ในส่วนของ IPv6 ดังนี้
      1. เปิดไฟล์ /etc/sysconfig/network-scripts/[interface-setting-file]
        sudo vim /etc/sysconfig/network-scripts/ifcfg-eth0
      2. ทำการแก้ไขโดยเพิ่มในส่วนของ IPv6 Config ดังนี้ (xxx คือ censor นะครับ)
        IPV6INIT="yes"
        IPV6ADDR=2001:xxxxxxx:34
        IPV6_DEFAULTGW=2001:xxxxxxx::1
        
      3. สั่ง Restart เครื่องเป็นอันเรียบร้อยครับ (ในกรณีที่เป็น CentOS 6 สั่ง sudo service network restart ก็ได้ครับ)
        sudo reboot
      4. สามารถตรวจสอบผ่านคำสั่ง ifconfig ได้ดังนี้ครับ
        ifconfig
    • อย่าลืมตรวจสอบ Firewall ด้วยนะครับ แต่โดยปกติ CentOS จะมี Firewall ตั้งแต่เริ่มติดตั้ง ในกรณีที่ไม่ได้ Disable Firewall ให้เข้าไปแก้ได้ที่
      sudo /etc/sysconfig/ip6tables
    • ในกรณีที่ใช้ Shorewall ลองศึกษาเพิ่มเติมดูครับว่าต้องแก้ไขอย่างไร