เรียนรู้วิธีการใช้งาน Cacti เพื่อ Monitor Server

ท่านสามารถอ่านวิธีติดตั้ง Cacti ได้ที่นี่
http://sysadmin.psu.ac.th/2014/07/24/cacti-setup/

วิธีการติดตั้ง SNMP Query MIB เพิ่มเติม รวมถึง MIB ของโปรแกรม SNMP Informant ซึ่งใช้ติดตั้งเป็น Agent ของ Windows Server โดยมีขั้นตอนดังนี้

วิธีการเพิ่มเติม snmp query template สำหรับ cacti

1) ทำการ move resource เป็น resource_old

sudo mv /usr/share/cacti/resource /usr/share/cacti/resource_old

2) ทำการสร้าง folder resource ขึ้นมาใหม่และทำการโหลดไฟล์ resource ใหม่จาก web มาวาง

cd /usr/share/cacti
sudo mkdir resource
cd resource
sudo wget http://ftp.psu.ac.th/pub/psu-monitor/resource.tar.gz
sudo tar -xvzf resource.tar.gz

3) ทำการเพิ่ม Template ลบไปฐานข้อมูลโหลด Download xml ทำการติดตั้งดังนี้

cd /home/workshop/Desktop/
wget http://ftp.psu.ac.th/pub/psu-monitor/template.zip
unzip template.zip

ทำการ Import ไฟล์ xml ทั้งหมด

– ตัวอย่างวิธีการ Import Template2014-07-25_053233

4) ทำการตั้งค่า Linux Host Template ใหม่ดังนี้2014-07-25_055104

ทำการ Add Associated Graph Templates และ Data Queries ดังนี้ (หลังจากกด save มันจะไม่ดีดไปไหน แต่ save แล้วครับ)2014-07-25_055500

5) ทำการตั้งสร้าง Windows Host Template ใหม่ดังนี้2014-07-25_0559182014-07-25_060021

ทำการ Add Associated Graph Templates และ Data Queries ดังนี้

2014-07-25_060447

สำหรับเครื่องที่เป็น Linux เปิดเฉพาะ snmp ก็เพียงพอ แต่เครื่องที่เป็น Windows ต้องลงโปรแกรม informant เพิ่มเติมเพื่อเสมือนเป็น agent ไปดึงค่าจากเครื่องไปสร้าง MIB พิเศษเพื่อให้ Cacti เข้ามาดึงข้อมูล โดยโปรแกรมสามารถ Download ได้ที่นี่

http://www.wtcs.org/informant/files/informant-std-17.zip

6) เพื่อไม่ต้อง ตั้งค่า snmp บ่อย ๆ ให้ทำการแก้ไข snmp default ดังรูป2014-07-25_061716

วิธีการเพิ่ม device

1) ทำการ Add Device ดังนี้2014-07-25_061537

2) ใส่ข้อมูลต่าง ๆ ของ Device2014-07-25_062211

3) หลังจากนั้นให้สังเกตุคำว่า success และมีจำนวน items แสดงว่าเราสามารถดึงค่าได้แล้ว ในกรณีที่ยังไม่ได้ เมื่อให้ทำการทดสอบโดยกดเลือก Verbose Query ทุกครั้ง ถ้ายังไม่ success แนะนำว่าอย่าเพิ่งสร้าง Graph ครับ เพราะเราไม่รู้ว่าเครื่องมีกี่ CPU กี่ interface แรมเท่าไหร่ จึงไม่สามารถสร้าง Graph ล่วงหน้าได้2014-07-25_062403

– เมื่อกดปุ่ม Verbose Query ระบบจะทำการดึงข้อมูลมาให้ดูดังรูป2014-07-25_062639

วิธีการสร้าง Graph ประเภท Linux Machine

– ทำการ Create Graph ในหน้า device ดังนี้

2014-07-25_062937

– ให้เลือกทีละหัวข้อจากนั้นทำการกดปุ่ม Create2014-07-25_063048 2014-07-25_0631362014-07-25_0638422014-07-25_063251 2014-07-25_063421 2014-07-25_063456 2014-07-25_063733

วิธีการสร้าง Graph ประเภท Windows Machine

– ให้ลองสร้าง Device ประเภท Windows

– ทำการ Create Graph ในหน้า device ดังนี้ (หลังเลือก Graph Template Name หลังสุดนะครับ ถ้าเลือกเป็น Pack อาจเยอะจนตาลาย)

– ให้เลือกทีละหัวข้อจากนั้นทำการกดปุ่ม Create2014-07-25_065458 2014-07-25_0656102014-07-25_0659412014-07-25_0700162014-07-25_0656422014-07-25_0700572014-07-25_065813 2014-07-25_065834    2014-07-25_070208

วิธีการเพิ่ม Graph Tree

2014-07-25_070622 2014-07-25_070652 2014-07-25_070731

– เราสามารถดูกราฟได้ที่หัวข้อ Graph2014-07-25_070852

จบแล้วครับสำหรับการใช้งาน cact ใครอยากลอง template ส่วนอื่น ๆ สามารถลองได้ครับ

Share the Post:

Related Posts

ทำความรู้จักกับ Outlook บนเว็บ

Post Views: 6 Outlook เป็นเครื่องมือจัดการอีเมลและปฏิทินที่ทรงพลัง ซึ่งช่วยให้คุณมีระเบียบและเพิ่มความสามารถในการทำงาน ด้วยอินเทอร์เฟซที่ใช้งานง่าย คุณสามารถจัดการกล่องขาเข้าของคุณ นัดหมาย และทำงานร่วมกับเพื่อนร่วมงานได้อย่างง่ายดาย ฟีเจอร์ที่แข็งแกร่งของ Outlook รวมถึงแม่แบบอีเมลที่ปรับแต่งได้ ความสามารถในการค้นหาขั้นสูง และการผสานรวมที่ไร้รอยต่อกับแอปพลิเคชัน Microsoft Office อื่นๆ ไม่ว่าคุณจะเป็นมืออาชีพที่ยุ่งอยู่หรือเป็นนักเรียนที่ต้องจัดการกับภารกิจหลายอย่าง Outlook

Read More

[บันทึกกันลืม] JupyterHub Authenticated with OIDC

Post Views: 36 ต่อจากตอนที่แล้ว [บันทึกกันลืม] JupyterHub ด้วย Docker คราวนี้ ถ้าต้องการให้ ยืนยันตัวตนด้วย OpenID เช่น PSU Passport เป็นต้น ก็ให้ทำดังนี้ ในไฟล์ jupyterhub_config.py ใส่

Read More