Day: April 29, 2013

  • แนวทางการ Backup บน Ubuntu Server (กรณีระบบ PSU EMail) #2

    ขยายความต่อจาก

    แนวทางการ Backup บน Ubuntu Server (กรณีระบบ PSU EMail)

    ลองมาดูทีละขั้นตอน

    1. ใน directory username.s มีไฟล์ดังนี้
    $ ls -l username.s
    total 0
    -rw-rw-r-- 1 mama mama 0 2013-04-29 14:31 a.txt
    -rw-rw-r-- 1 mama mama 0 2013-04-29 14:31 b.txt
    -rw-rw-r-- 1 mama mama 0 2013-04-29 14:31 c.txt
    -rw-rw-r-- 1 mama mama 0 2013-04-29 14:31 d.txt
    -rw-rw-r-- 1 mama mama 0 2013-04-29 14:31 e.txt

    2. ใช้คำสั่งต่อไปนี้ เพื่อทำการ Full Backup
    tar -zcf username.s-full.tar.gz -g username.s.snar username.s
    ดูไฟล์ใน username.s-full-tar.gz ด้วยคำสั่ง
    tar -ztf username.s-full.tar.gz -g username.s.snar username.s
    จะมีไฟล์ดังนี้
    username.s/
    username.s/a.txt
    username.s/b.txt
    username.s/c.txt
    username.s/d.txt
    username.s/e.txt

    3. ต่อมามีไฟล์เกิดใหม่ 2 ไฟล์ ชื่อ f.txt, g.txt
    4. เมื่อถึงเวลา ระบบทำการ Incremental Backup ด้วยคำสั่ง
    tar -zcf username.s-i01.tar.gz -g username.s.snar username.s
    ดูไฟล์ใน username.s-i01-tar.gz ด้วยคำสั่ง
    tar -ztf username.s-i01.tar.gz -g username.s.snar username.s
    จะมีไฟล์ดังนี้
    username.s/
    username.s/f.txt
    username.s/g.txt

    5. ลบไฟล์ c.txt, e.txt
    และมีไฟล์ h.txt เกิดขึ้น
    6. เมื่อถึงเวลา ระบบทำการ Incremental Backup ด้วยคำสั่ง
    tar -zcf username.s-i02.tar.gz -g username.s.snar username.s
    ดูไฟล์ใน username.s-i02-tar.gz ด้วยคำสั่ง
    tar -ztf username.s-i02.tar.gz -g username.s.snar username.s
    จะมีไฟล์ดังนี้
    username.s/
    username.s/h.txt

    7. (ในระบบ Email ไม่มีเหตุการณ์นี้ แต่ทำให้ดูเป็นตัวอย่าง) ถ้ามีการแก้ไขไฟล์ a.txt
    ซึ่งเดิมเป็นไฟล์ว่างๆ แต่ต่อมา มีการแก้ไขไฟล์ โดยเพิ่มคำว่า “hello world” เข้าไป
    echo "hello world" > username.s/a.txt
    8. เมื่อถึงเวลา ระบบทำการ Incremental Backup ด้วยคำสั่ง
    tar -zcf username.s-i03.tar.gz -g username.s.snar username.s
    ดูไฟล์ใน username.s-i03-tar.gz ด้วยคำสั่ง
    tar -ztf username.s-i03.tar.gz -g username.s.snar username.s
    จะมีไฟล์ดังนี้
    username.s/
    username.s/a.txt

    หวังว่าจะเป็นประโยชน์ครับ

  • How to create PSU VPN (L2TP/IPSec) connection Ubuntu 13.04?

    * ติดตั้งโปรแกรมชื่อ l2tp-ipsec-vpn ด้วยคำสั่ง

    $sudo apt-get install l2tp-ipsec-vpn

    ดังภาพ
    Screenshot from 2013-04-29 11:02:30
    * ตอบ y
    Screenshot from 2013-04-29 11:03:16
    * ตอบ No
    Screenshot from 2013-04-29 11:03:31
    Screenshot from 2013-04-29 11:03:40
    * กด OK
    Screenshot from 2013-04-29 11:03:53
    * สั่ง reboot เครื่อง
    Screenshot from 2013-04-29 11:04:12
    * เมื่อบูทเสร็จจะพบว่ามีไอคอนเพิ่มมาบนพาเนล
    Screenshot from 2013-04-29 11:44:16
    * คลิกซ้ายเลือก Edit Connection
    Screenshot from 2013-04-29 12:00:41
    * หน้าจอจะมืดลงและมีช่องให้ใส่พาสเวิร์ดของผู้ใช้ลงไปแล้วกด OK
    Screenshot from 2013-04-29 12:02:16
    * จะได้หน้าจอดังรูป
    Screenshot from 2013-04-29 11:21:03
    * คลิก Add จะได้หน้าจอดังรูป ใส่ vpn.psu.ac.th ลงไปในช่อง Connection name กด OK
    Screenshot from 2013-04-29 11:21:32
    * ได้ดังรูป
    Screenshot from 2013-04-29 12:06:09
    * คลิก Edit กรอกข้อความตามรูป
    Screenshot from 2013-04-29 11:22:00
    * คลิก PPP เลือกตามรูป ในช่อง Username และ Password ให้ใช้ PSU Passport
    Screenshot from 2013-04-29 11:22:30
    * คลิก IP setting คลิกเครื่องหมายถูกในช่องสี่เหลี่ยมหน้าข้อความ Obtain DNS server address automatically กด OK
    Screenshot from 2013-04-29 11:23:35
    * กด OK ออกมาจนสุดคลิก Close คลิก OK
    Screenshot from 2013-04-29 11:24:14
    * Reboot อีกครั้ง
    * คลิกที่ไอคอน เลือก vpn.psu.ac.th
    Screenshot from 2013-04-29 11:31:28
    Screenshot from 2013-04-29 11:25:37
    * เมื่อเชื่อมต่อสำเร็จจะเป็นดังรูป
    Screenshot from 2013-04-29 11:28:29
    * สำหรับ Linux Mint 15 อาจจะต้องทำคำสั่งนี้ก่อนจึงจะใช้งานได้

    sudo apt-add-repository ppa:werner-jaeger/ppa-werner-vpn
    sudo apt-get update && sudo apt-get install l2tp-ipsec-vpn

    * ขอให้สนุกครับ

    ที่มา http://rapidvpn.com/setup-vpn-l2tp-ubuntu.htm